งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

I ความเป็นมนุษย์ II วิชาศึกษาทั่วไป III ข้อสังเกตเรื่องการพัฒนาความเป็นมนุษย์ กับวิชาศึกษาทั่วไป.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "I ความเป็นมนุษย์ II วิชาศึกษาทั่วไป III ข้อสังเกตเรื่องการพัฒนาความเป็นมนุษย์ กับวิชาศึกษาทั่วไป."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาความเป็นมนุษย์ด้วยวิชาศึกษาทั่วไป โดย วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

2 I ความเป็นมนุษย์ II วิชาศึกษาทั่วไป III ข้อสังเกตเรื่องการพัฒนาความเป็นมนุษย์ กับวิชาศึกษาทั่วไป

3 I ความเป็นมนุษย์ • มนุษย์ = มนะ (ใจ) + อุษย์ (สูง)
• มนุษย์ = มนะ (ใจ) + อุษย์ (สูง) • มนุษย์ (human being) • Human มาจากภาษาละติน Hūmānus homo man • 4 ลักษณะของมนุษย์ • mind • body • personality • spirit

4 ความเป็นมนุษย์ • ข้อแตกต่างระหว่าง soul mind และ spirit
• Mind และ spirit เป็นตัวผลักดันให้เกิด “ความเป็นมนุษย์” (humaneness) ภายใต้อิทธิพลของ body และ personality mind ความเป็นมนุษย์ spirit Body personality

5 • ลักษณะของความเป็นมนุษย์ที่พึงประสงค์
• ลักษณะของความเป็นมนุษย์ที่พึงประสงค์ • Kindness (เมตตา = ปรารถนาดีอยากให้เขา เป็นสุข มีจิตอันแผ่ไมตรี) • Compassion (กรุณา = สงสารเห็นอกเห็นใจ คนตกทุกข์ได้ยากและคิดช่วยให้พ้นทุกข์) • Mercifulness (เมตตาและให้อภัยแก่คนอื่นซึ่งอยู่ ใต้อำนาจของเราที่สามารถจะทำร้ายได้) • Altruism (มุทิตา = ยินดีเมื่อผู้อื่นเป็นสุข ตั้งใจที่ จะกระทำสิ่งซึ่งคนอื่นได้ประโยชน์ ถึงแม้ตนจะเสีย ประโยชน์ก็ตาม) • Empathy (ความสามารถที่จะร่วมความรู้สึกหรือ ประสบการณ์ของผู้อื่นโดยจินตนาการได้ว่าจะเป็น อย่างไร)

6 ▪ มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง/ มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล
II วิชาศึกษาทั่วไป • ความหมายของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป (เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี 2548) : มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ ▪ มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง/ มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล ▪ เป็นผู้ใฝ่รู้ มีความเข้าใจธรรมชาติตนเอง ผู้อื่น และสังคม ▪ สามารถคิดอย่างมีเหตุผล ▪ สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารได้ดี ▪ มีคุณธรรม ▪ ตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทยและนานาชาติ ▪ นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตและดำรงตนอยู่ ในสังคม • วิชาศึกษาทั่วไปเกิดจากการผสมผสานเนื้อหาสาระของกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภาษา และกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ในสัดส่วนที่เหมาะสม

7 พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
• วิชาศึกษาทั่วไป (สร้างความพร้อม; เพื่อสร้างบัณฑิต) • วิชาเฉพาะและวิชาชีพต่าง ๆ (การสร้างเครื่องมือให้บัณฑิต)

8 • วิชาศึกษาทั่วไปคือการพัฒนาคนทำให้เขามีชีวิตที่ดีงดงาม ประณีต มีอิสรภาพ มีความสุข มีความเป็นคนเต็มคนในตัว (พัฒนาคนในฐานะที่เป็นตัวคน) • วิชาเฉพาะวิชาชีพ เน้นการพัฒนาคนในฐานะที่เป็นทรัพยากรมนุษย์ วิชาศึกษาทั่วไป พัฒนาคน = สร้างบัณฑิต ชีวิตที่ดีงามประเสริฐ วิชาเฉพาะวิชาชีพ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ = สร้างเครื่องมือให้บัณฑิต เพิ่มผลผลิต

9 • “จะสอนวิชาเฉพาะวิชาชีพ ให้ใช้ผู้เชี่ยวชาญ
• “จะสอนวิชาเฉพาะวิชาชีพ ให้ใช้ผู้เชี่ยวชาญ แต่จะสอนวิชาพื้นฐาน ต้องใช้นักปราชญ์” • มนุษย์ชาติดำรงอยู่ด้วยดีในโลกได้ต้องมี 3 องค์ประกอบที่ประสานสัมพันธ์เกื้อกูลซึ่งกันและกัน ในลักษณะที่เป็นความกลมกลืนและสมดุล • มนุษย์ • สังคม • ธรรมชาติ

10 III ข้อสังเกตเรื่องการพัฒนาความเป็นมนุษย์ กับวิชาศึกษาทั่วไป
• ปัญหาการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไป • ทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 • พัฒนาความเป็นมนุษย์ • ห้องเรียนแบบใหม่ • Character is destiny

11 ปัญหาการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไป
• ความเข้าใจเรื่องวิชาศึกษาทั่วไป • ปัญหาของการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไป • “เกณฑ์มาตรฐาน” มอบภาระที่หนักเกินไปกับการเรียนวิชาศึกษาทั่วไปในจำนวนไม่เกิน 36 หน่วยกิต • วิชาศึกษาทั่วไปมัก “จบลง” เมื่อได้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปไปแล้ว

12 ทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21
Skills for 21st Century ความเป็นพลเมือง

13 Skills for 21st Century (C) Information, Media, and Technology Skills (A) Life and Career Skills (D) Core Subjects and T st Century Themes Global awareness Financial, economic, business and entrepreneurial literacy Civic literacy Health literacy Environmental literacy (B) Learning Innovation skills C’s : critical thinking communication collaboration creativity อ้างอิง : The Partnership for 21st Century Skills- Framework for 21st Century Learning

14 • 3 R’s : เขียน อ่าน คิดเลขเป็น (+ คิดเป็น)
• Core Subjects • English • World languages • Arts • Mathematics • Economics • Science • Geography • History • Government and Civics

15 ความเป็นพลเมือง  เคารพกฎกติกา  เคารพความเสมอภาค  เคารพสิทธิผู้อื่น
 เคารพกฎกติกา  เคารพความเสมอภาค  เคารพสิทธิผู้อื่น  เคารพและยอมรับความแตกต่าง  ใช้สิทธิและเสรีภาพอย่างมีความรับผิดชอบ  ตระหนักและรับผิดชอบตนเองและสังคม

16 พัฒนาความเป็นมนุษย์ ห้องเรียนแบบใหม่  Teach less and learn more
 Learning is process  เรียนรู้สู่การปฏิบัติ  Experiential Learning  Problem-based  Case studies  Role playing  Project-based  Experiment  Exploration

17  ทัศนคติที่เหมาะสม  การรักการอ่านและประสบการณ์ชีวิตจากการ เรียนรู้  Character education กิจกรรมนักศึกษาและ วิชาศึกษาทั่วไป การผสมที่กลมกลืน

18 = ability x effort x attitude
(Outcome of life) = ability x effort x attitude (1 ถึง 10) (1 ถึง 10) (-10 ถึง +10) (จาก Kazuo Inamori ผู้ก่อตั้งองค์กร Kyocera ของญี่ปุ่น)

19 Character is destiny บุคลิกอุปนิสัยคือตัวกำหนดชะตากรรม
“Style is more important than substance?” (ท่วงท่าสำคัญกว่าน้ำยา?)

20 You may think you are a small person in the world, but to some, you are their world.
คุณอาจคิดว่าคุณเป็นคนไม่สำคัญนักในโลก แต่สำหรับบางคนแล้ว คุณคือโลกของเขา

21 I Shall Pass But Once ฉันจะผ่านโลกนี้ แต่เพียงหน
ฉันจะผ่านโลกนี้ แต่เพียงหน จึงกุศล ใดใด ที่ทำได้ หรือเมตตา ซึ่งอาจให้ มนุษย์ใด ขอให้ฉัน ทำหรือให้ แต่โดยพลัน อย่าให้ฉัน ละเลย เพิกเฉยเสีย หรือผัดผ่อน อ่อนเพลีย ไม่แข็งขัน เพราะตัวฉัน ต่อไป ไม่มีวัน จรจรัล ทางนี้ อีกทีเลย William Penn (ค.ศ ) (บทแปลประพันธ์ โดย อดีตองคมนตรี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ ม.ล. จิรายุ นพวงศ์)

22 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
facebook (varakorn.com) วรากรณ์ สามโกเศศ ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt I ความเป็นมนุษย์ II วิชาศึกษาทั่วไป III ข้อสังเกตเรื่องการพัฒนาความเป็นมนุษย์ กับวิชาศึกษาทั่วไป.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google