ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
งานกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ปี 2562
การดูแลผู้สูงอายุเครือข่ายพนมสารคาม
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6 ประเด็นการตรวจราชการ ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6 “ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์”

สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี 2560 สังคมไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ ในปี 2560 มีประชากรผู้สูงอายุ 11.31 ล้านคน หรือ ร้อยละ17.12 (ม.มหิดล : ประชากรกลางปี 1 ก.ค. 60) อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ชาย 72.0 ปี หญิง 78.8 ปี - ผู้สูงอายุร้อยละ 34.3 มีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน - อยู่ตามลำพังร้อยละ 9 และ อยู่ 2 คน ตา-ยาย ร้อยละ 19 ในขณะที่ผู้สูงอายุวัยปลาย 80 ปี+ ต้องการผู้ดูแลร้อยละ 24 แต่ไม่มีผู้ดูแลถึงร้อยละ 4 พบโรคข้อเข่าเสื่อมร้อยละ 3 พบภาวะอ้วนในเพศหญิงร้อยละ 43 เพศชายร้อยละ 17 เกินกว่าครึ่งของผู้สูงอายุวัยกลาง วัยปลายมีฟันไม่ครบ 20 ซี่ พบการหกล้มในเขตเทศบาลร้อยละ 10 นอกเขตเทศบาลร้อยละ 12 ใช้ส้วมนั่งราบแบบห้อยขาร้อยละ 45 ได้รับการเยี่ยมเยียนโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในเขตเทศบาลร้อยละ 30 นอกเขตเทศบาล ร้อยละ 45 เข้าถึงระบบบริการร้อยละ 56.7 ที่มา: กรมอนามัย 2560

องค์ประกอบตำบลLong Term Care 1 มีระบบการประเมิน คัดกรองปัญหา สุขภาพ และมีข้อมูลผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาว 2 มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3 มีผู้จัดการการดูผู้สูงอายุ (Care manager) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ(Care giver) หรืออาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ 4 มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care)จากสถานบริการสู่ชุมชนโดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ 5 มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล 6 มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง โดยท้องถิ่น ชุมชน มีส่วนร่วม และมีแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล (Care plan) 7 มีคณะกรรมการบริหารจัดการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนหรือคณะกรรมการกองทุนตำบล 04/04/62

ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ ปี 2561 เป้าหมาย : - ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงในชุมชน ได้รับการดูแลตามแผนการดูแล Care plan 180,000 คน ทุกจังหวัด ทุกอำเภอ - ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care ) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 เกณฑ์การประเมิน ปี 2561 5 เดือนแรก (ต.ค.60-ก.พ.61) 5 เดือนหลัง (มี.ค.-ก.ค.61) ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 32 34 36 40 45 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 45 50 55 60 มาตรการสำคัญ B พัฒนานโยบาย LTC / ระบบดูแล ผู้สูงอายุ 3 S -อบรม Care manager Caregiver และ อสค. -สร้าง พัฒนา ทีมนำในการส่งเสริม สุขภาพดูแลผู้สูงอายุในชุมชน P ใช้กลไกคณะกรรมการร่วม สธ และ สปสช. “ คณะกรรมการขับเคลื่อน LTC ” ในส่วนกลางและคณะกรรมการดำเนินงานในระดับพื้นที่ DHB และกลไกชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ I ประสานแหล่งเงินทุน (สปสช. สสส. อปท.) เพื่อสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุ -สนับสนุนการจัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุใน ชุมชน (Care Giver) -สร้างพัฒนานวัตกรรมการดูแลผู้สูงอายุ R ขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุและแนวทางการจ่ายเงินตามชุดสิทธิ ประโยชน์ และมาตรฐาน การดูแลผู้สูงอายุ A สร้างการสื่อสาร สาธารณะที่เข้าถึงง่าย ร่วมกับเครือข่าย เพื่อ “สังคมไทย เป็นสังคม แห่งความกตัญญูรู้คุณ ไม่ทอดทิ้งผู้สูงอายุ Small Success รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1. สร้างพัฒนาทีมนำในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน 250 คน 2. จัดทำระบบฐานข้อมูลการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว 3. มี CM 2,250 คนและCG 9,000 คน 4. ผู้สูงอายุได้รับการดูแล ร้อยละ 30 – 59 (จากเป้าหมาย 180,000 คน) 5. ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 1. มีระบบฐานข้อมูล 2. มี CM 3,600 คน และ CG 14,000 คน 3. ผู้สูงอายุได้รับการ ดูแล ร้อยละ 60 – 79 4. ตำบล LTC ผ่าน เกณฑ์ ร้อยละ 55 มี CM 4,500 คน และ CG 18,000 คน 2. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามCare plan ร้อยละ 80 – 100 3. ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 1. มีการทบทวนสถานการณ์ การทำงานของพื้นที่ 2. มีคณะทำงานทุกระดับ 3. มีพื้นที่เข้าร่วมโครงการครบทุกจังหวัด ทุกอำเภอ 4. มีการประชุมชี้แจง 5. เขตสุขภาพจัดอบรมCM/CG 6.ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 45

ผลการดำเนินงาน Cluster กลุ่มวัยผู้สูงอายุ โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ปี 2560 ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะที่สำคัญต่อการพัฒนางาน การคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายตำบล Long Term Care ไม่สอดคล้องกับอปท.ที่เข้าร่วมโครงการทำให้มีปัญหาเรื่องการผลิต Care Manager / Care giver ส่งผลต่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานเกิดความล่าช้า - สนับสนุนให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การดาเนินงานระดับเขต /จังหวัด /อำเภอเพื่อขับเคลื่อนการทำงานตำบล Long Term Care องค์ประกอบของคณะกรรมการมาจากทุกภาคส่วนของหน่วยงานในพื้นที่ 1. ความเข้าใจเรื่องระเบียบการเบิกจ่ายเงิน ระหว่างหน่วยบริการสาธารณสุข กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีแนวทางการปฏิบัติที่มีความต่างกัน 2. - สนับสนุนการจัดเวทีแลกเปลี่ยนการดำเนินงานของคณะกรรมการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระบบการดำเนินงานระหว่างพื้นที่ที่การดำเนินงานดีเด่น /พื้นที่ๆมีปัญหาเพื่อการปรับวิธีการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ งบประมาณในการดำเนินงานด้านตำบล Long Term Care มาจาก 2 แหล่งงบประมาณ (สธ. กับ สปสช.) ทำให้เกิดความสับสนในการปฏิบัติงานการเบิกจ่ายงบประมาณของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน 3. นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง เขตสุขภาพที่ 1 ตำบลบ้านธิ มีนวัตกรรมเชิงกระบวนการ • กล่องยากันลืมให้กับผู้สูงอายุ • นำถุงน้ำยาล้างไตมาทำที่นอนให้กับผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง จะขยายผลไปยังพื้นที่อื่น • การดำเนินการจัดอบรม สามวัยใส่ใจครอบครัว เขตบริการสุขภาพที่ 8 จังหวัดเลย: มีอำเภอต้นแบบ ในการจัด “เมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ” (Age-Friendly Cities) ที่อำเภอด่านซ้าย เขตบริการสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ : อำเภอคอนสวรรค์ มีการจัดระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care) โดยการ ขับเคลื่อนผ่าน District Health System: DHS ทำให้การดำเนินงานเป็นไปในรูปแบบเดียวกันทั้งอำเภอ และมีการบริหารจัดการผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีการดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุ และ Care giver สามารถให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เขตบริการสุขภาพที่ 12 จังหวัดปัตตานี : โคกโพธิ์ MODAL ระบบสุขภาพ มีการดำเนินงานตามกระบวนการหรือวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่มีความเชื่อมโยงในระบบหน่วยบริการ