ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
โครงการ / กิจกรรม ประจำปี ๒๕๕๖ ฝ่ายพัฒนาการมีส่วนร่วม สำนักการมีส่วนร่วมในกระบวนการ เลือกตั้ง มี ๔ โครงการ ( ๖ กิจกรรม ) ส่วนกลาง ดำเนินการเอง มี ๒ กิจกรรม.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Palliative care.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
Service Profile : งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน ทีมงานสร้างเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสภาพวัยทำงาน กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง

ความเป็นมา จังหวัดระยองมีคนทำงานมากกว่า 4 แสนคน เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยจากงานและไม่จากงาน สูญเสียอวัยวะ สูญเสียสมรรถภาพ การมีงานทำเป็นพื้นฐานของความป็นอยู่ที่ดี ภายหลังการเจ็บป่วยสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิผล ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเองและต่อผู้อื่น การเจ็บป่วยที่ใช้เวลาในการรักษาเป็น อาจสูญเสียงาน การดูแลโดยสหวิชาชีพ

แนวทางการดูแลผู้ป่วยกลับเข้าทำงาน

แบบคัดกรองส่งต่อผู้ป่วยเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

แบบบันทึกการดูแลฯ ประเมินความสามารถในการกลับเข้าทำงาน(Return to work) ใช้หลักการ ICF 1.การประเมินความผิดปกติทางโครงสร้างของอวัยวะระบบต่างๆ (Impairments of Body structures) 2.การประเมินความผิดปกติด้านการทำงานของอวัยวะระบบต่างๆ (Body functions) 3.การประเมินข้อจำกัดในการทำกิจกรรมและการมีส่วนร่วม( Activity Limitations and Participation Restriction) 4. การประเมินด้านปัจจัยแวดล้อม (Environmental factors) ที่คาดว่าจะมีผลต่อการกลับเข้าทำงาน

รายงานประเมินก่อนกลับเข้าทำงาน

บันทึกทางการพยาบาล ประเมินความรู้และการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการเจ็บป่วยกับการทำงาน ประเมินการรับรู้ความเสี่ยงและป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเมื่อกลับเข้าทำงาน ประเมินการรับรู้สมรรถภาพตนเอง ประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมประจำวัน

ผลการดำเนินงาน ปี 2559 38 ประเภทการเจ็บป่วย ในรพ. สปก. มาเอง รวม หลอดเลือดสมอง 4 1 - 5 กระดูกหัก 18 20 สูญเสียอวัยวะ แผลไฟไหม้ 3 บาดเจ็บไขสันหลัง ผ่าตัดช่องท้อง เบาหวาน ลมชัก ไตวาย 35 2 38

ระหว่างการติดตามดูแล ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ประเภทการเจ็บป่วย กลับเข้าทำงานเดิม เปลี่ยนงานใหม่ ระหว่างการติดตามดูแล RTL รวม หลอดเลือดสมอง 2 1 - 5 กระดูกและข้อ 3 12 20 สูญเสียอวัยวะ แผลไฟไหม้ บาดเจ็บไขสันหลัง ผ่าตัดช่องท้อง เบาหวาน ลมชัก ไตวาย 10 7 18 38

ปัจจัยสนับสนุน วิสัยทัศน์สนับสนุนการดำเนินงานอาชีวอนามัย การสื่อสารการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์จากระดับผู้บริหารถึงระดับผู้ปฏิบัติ จัดบริการอาชีวอนามัยใน Care process ความร่วมมือโดยสมัครใจ PCT ร่วมคัดกรองผู้ป่วยยุ่งยากซับซ้อน การวางแผนการดูแลชัดเจน

แผนการพัฒนา ประเมินความต้องการการดูแลเพื่อการกลับเข้าทำงานเฉพาะรายที่ยุ่งยากซับซ้อนเฉพาะโรค เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคทั่วไป มีการประเมิน RTW ครอบคลุมทุกสาขา ขยายการดำเนินการในสถานประกอบการ พัฒนาทีมสหวิชาชีพให้ช่วยคัดกรองความต้องการการดูแลเพื่อการกลับเข้าทำงานได้แม่นยำมากขึ้น