การเตรียมความพร้อมเมื่อกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการมีผลใช้บังคับ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
จัดแบ่งงานภายใน + จัดกรอบอัตรากำลัง ขั้นตอนการดำเนินการ กิจกรรม ผลผลิต ผู้รับผิดชอบ 1. ส่วนราชการจัดเตรียมแบ่งงานภายในส่วนราชการต่ำกว่ากอง 1 ระดับ (กลุ่ม/ส่วน/ฝ่าย) หรือ 2 ระดับ (งาน) ตามที่ปรากฏในกฎกระทรวง ให้สอดคล้องกับอำนาจหน้าที่ที่กำหนด โครงสร้างการแบ่งงานภายในต่ำกว่ากอง 1 ระดับ หรือ 2 ระดับ พร้อมทั้งระบุอำนาจหน้าที่ที่จะปฏิบัติ จัดกรอบอัตรากำลังในแต่ละหน่วยงาน ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่ง (ว 2/2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม) กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่ ร่วมกับสำนัก/กอง จัดแบ่งงานภายใน + จัดกรอบอัตรากำลัง กฎกระทรวง
ขั้นตอนการดำเนินการ กิจกรรม ผลผลิต ผู้รับผิดชอบ 2. จัดทำบัญชี ดังนี้ 2.1 จัดตำแหน่งข้าราชการ (บัญชี 1) 2.2 จัดคนลงตามกฎกระทรวงให้สอดคล้องกับการจัดแบ่งงานภายใน (บัญชี 2) จำแนกเป็น : ข้าราชการ/พนักงานราชการ/ลูกจ้างประจำ 2.3 บัญชีตำแหน่งข้าราชการตามกฎกระทรวงใหม่ (บัญชี 3)** บัญชีตำแหน่งข้าราชการ และบัญชีจัดคนลง ที่สอดคล้องกับโครงสร้างกฎกระทรวงใหม่และการจัดแบ่งงานภายในตามข้อ 1 เพื่อเสนอ อ.ก.พ.กระทรวงฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดแบ่งงานภายในและการจัดคนลงตามกฎกระทรวง กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่ ร่วมกับสำนัก/กอง **หมายเหตุ บัญชี 3 สำหรับใช้ในงานอัตรากำลัง กจ. บัญชี 1 บัญชี 2
หลักการจัดอัตรากำลัง จัดอัตรากำลังตามภารกิจที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และที่กำหนดในกฎกระทรวงฯ คงการกำหนดตำแหน่งประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่งไว้ตามเดิม (ยกเว้น ตำแหน่งที่ต้องปรับปรุงเป็นประเภทอำนวยการ ระดับต้น : กองตั้งใหม่) กรณีที่ต้องตัดโอนอัตรากำลังตามภารกิจ จากกรมหนึ่ง ไปยังอีก กรมหนึ่ง ภายในกระทรวง ให้ตัดโอนตามกรอบอัตรากำลังที่เคยกำหนดไว้เดิม (ตรวจสอบจากเอกสารที่เสนอ ก.พ.ร.) ไม่ตัดโอนอัตรากำลังจากส่วนภูมิภาค หรือส่วนกลางที่ตั้งในภูมิภาค ไปกำหนดเป็นตำแหน่งในส่วนกลาง เว้นแต่ ภารกิจนั้นยุบเลิก หรือหมดความจำเป็นลงเช่น ถ่ายโอนให้ท้องถิ่น เป็นต้น
ตัวอย่างบัญชีจัดตำแหน่ง (บัญชี 1)
ตัวอย่างบัญชีจัดคนลง (บัญชี 2)
ขั้นตอนการดำเนินการ กิจกรรม ผลผลิต ผู้รับผิดชอบ 3. จัดทำวาระเพื่อพิจารณา เสนอ อ.ก.พ.กระทรวง ให้ความเห็นชอบการจัดแบ่งงานภายในตามกฎกระทรวงใหม่ รวมทั้งบัญชีจัดตำแหน่งและบัญชีจัดคนลง มติ อ.ก.พ. กระทรวง และรายงานการประชุม กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่ และฝ่ายเลขานุการ อ.ก.พ.ฯ 4. จัดทำหนังสือแจ้งมติ อ.ก.พ.กระทรวง พร้อมทั้งรายงานการประชุม บัญชีจัดตำแหน่งและ บัญชีจัดคนลง - หนังสือแจ้งมติ พร้อมรายงานการประชุม บัญชี 1/บัญชี 2 และ - หนังสือแจ้ง ก.พ. เพื่อขอความเห็นชอบการให้ได้รับเงินประจำตำแหน่ง (เฉพาะตำแหน่งที่มีสิทธิได้รับตามกฎ ก.พ.ฯ) บัญชี 1 ก.พ. สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง บัญชี 2 มติ อ.ก.พ. /รายงานการประชุม
ขั้นตอนการดำเนินการ กิจกรรม ผลผลิต ผู้รับผิดชอบ 5. การแต่งตั้ง อ.ก.พ. กรม ตามมาตรา 17 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 - เมื่อ อ.ก.พ.กระทรวง มีมติเห็นชอบ การจัดโครงสร้างการแบ่งงานภายใน การจัดตำแหน่งและการจัดคนลงแล้ว ให้ส่วนราชการดำเนินการแต่งตั้ง อ.ก.พ.กรม ตามองค์ประกอบที่กำหนด ในมาตรา 17 กรณีที่ส่วนราชการไม่สามารถดำเนินการแต่งตั้ง อ.ก.พ. กรม ได้จะด้วยเหตุใดก็ตาม ให้ทำหนังสือขอหารือ ก.พ. โดยด่วน กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่
หลักเกณฑ์การจัดตำแหน่งตามโครงสร้างส่วนราชการใหม่ เปลี่ยน ประเภท หากเป็นการเกลี่ยอัตรากำลังระหว่างส่วนราชการภายในกระทรวง หรือการเกลี่ยอัตรากำลังระหว่างส่วนราชการภายในกรม เปลี่ยน ประเภท สายงาน และระดับตำแหน่ง ไม่เปลี่ยน ประเภท สายงาน และระดับตำแหน่ง อ.ก.พ. กระทรวง หรือ อ.ก.พ. กรม จัดตำแหน่งที่มีอยู่เดิมลง ตามโครงสร้างใหม่ อ.ก.พ. กระทรวง จัดตำแหน่งลง ตามโครงสร้างใหม่ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด (ว 2/58) ไม่เป็นการเกลี่ยอัตรากำลังที่กำหนดไว้ในราชการบริหารส่วนภูมิภาค หรือส่วนกลางที่ตั้งในภูมิภาค ไปกำหนดเป็นตำแหน่งในราชการบริหารส่วนกลาง
ขรก. ประเภทวิชาการ(ปก/ชก) – 2 ขรก. ประเภททั่วไป (ปง/ชง) – 2 (หรือ) หลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งประเภทวิชาการ หัวหน้ากลุ่มงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ (ที่ต่ำกว่ากอง 1 ระดับ) กอง/สำนัก... ผู้อำนวยการ หัวหน้ากลุ่มงาน (ชำนาญการพิเศษ)** กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย **ต้องมีผู้ใต้บังคับบัญชา ไม่น้อยกว่า 4 ตำแหน่ง ขรก. ประเภทวิชาการ(ปก/ชก) – 2 ขรก. ประเภททั่วไป (ปง/ชง) – 2 (หรือ) พรก./ลูกจ้างประจำ ที่กำหนดเป็นกรอบ พรก. ปฏิบัติงานเช่นเดียวกับ ขรก. : ขรก. = 2 : 1
หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป ขรก. ประเภททั่วไป (ปง/ชง) – 2 หลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งประเภททั่วไป หัวหน้ากลุ่มงาน ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส (ที่ต่ำกว่ากอง 1 ระดับ) กอง/สำนัก... ผู้อำนวยการ หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป (อาวุโส)** กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย กลุ่ม/ฝ่าย **ต้องมีผู้ใต้บังคับบัญชา ไม่น้อยกว่า 6 ตำแหน่ง ขรก. ประเภททั่วไป (ปง/ชง) – 2 พรก./ลูกจ้างประจำ ที่กำหนดเป็นกรอบ พรก. ปฏิบัติงานเช่นเดียวกับ ขรก. : ขรก. = 2 : 1
ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ระดับต้น หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรม ที่ปรากฏตามกฎกระทรวงฯ (กองตั้งใหม่) นำตำแหน่งว่างที่มีเงินมากำหนด โดยไม่ต้องยุบเลิกตำแหน่ง จพ.ธุรการ (ตำแหน่งเลขที่ 259) ผู้อำนวยการกอง... ระดับต้น (ตำแหน่งเลขที่ 259)
ระบุยุทธศาสตร์สำคัญและแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (ระยะยาว) และแผนปฏิบัติราชการประจำปี (ระยะสั้น) ในส่วนที่สอดคล้องกับอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกอง ตามที่ปรากฏในกฎกระทรวง ซึ่ง “ผู้อำนวยการกอง” จะต้องปฏิบัตินั้น มีภารกิจหลักกี่ด้าน แต่ละด้านบทบาทที่ดำเนินการคือเรื่องใด ดำเนินการอย่างไร ผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบ ประโยชน์ ที่เกิดจากการดำเนินการ รวมทั้งความเชื่อมโยงกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับกระทรวง กรม ส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นภายนอกกระทรวงด้วย ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการ 1 ปี (แผนงาน/โครงการสำคัญ หน้าที่และความรับผิดชอบ (เปรียบเทียบ เดิม/ใหม่) ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ทั้งผลผลิต/ผลลัพธ์ของงาน ตามยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี /แผนปฏิบัติราชการประจำปี ผลกระทบ/ประโยชน์ที่ได้รับจาก การดำเนินการตามยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / แผนปฏิบัติราชการประจำปี หัวหน้าส่วนราชการ **กรณีที่จะปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งเป็นตำแหน่งประเภท อำนวยการ ระดับสูง จะต้องพิจารณาในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ ผอ. กอง ** (อำนวยการ ระดับต้น) ระบุ ภาระงาน ปริมาณงาน คุณภาพของงาน ผลสำเร็จของงาน ที่เป็นรูปธรรม ทั้งในด้านหลักเกณฑ์ วิธีการ แนวทางปฏิบัติ ที่นำไปสู่การดำเนินการที่เป็นมาตรฐานและพัฒนางานตามภารกิจหลักที่เป็นอำนาจหน้าที่ของกองนั้น ๆ ในทุกมิติ ตามหลักเกณฑ์ ว 2/2558 โดยแสดงผลงานในระยะ 3 ปี ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ระบุให้เห็นความเปลี่ยนแปลงทั้งในเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ อันเป็นสาระสำคัญที่เชื่อมโยงกับการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ฯ และแผนปฏิบัติราชการในแต่ละช่วงที่ผ่านมาด้วย
เกี่ยวกับการขอเพิ่มอัตราข้าราชการตั้งใหม่ แนวทางการดำเนินการ เกี่ยวกับการขอเพิ่มอัตราข้าราชการตั้งใหม่ หนังสือคณะกรรมการกำหนดเป้าหมายและนโยบายกำลังคนภาครัฐ (คปร.) ที่ นร 1008.4/83 ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2559)
1. จัดทำยุทธศาสตร์/แผนงาน ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ความมั่นคง การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน ส่วนราชการจัดทำยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการ สำหรับปฏิบัติราชการระยะ 20 ปี ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และปรับโครงสร้าง ส่วนราชการภายในเพื่อรองรับการขับเคลื่อนภารกิจ/งานตามยุทธศาสตร์ นโยบาย และงานมอบหมายพิเศษ การพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและ เท่าเทียมกันทางสังคม การสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Agenda Based Function Based Area Based การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
2. จัดอัตรากำลังภายในกรมก่อนขอเพิ่มอัตราตั้งใหม่ จัดสรรอัตรากำลังภายใน มอบหมายงานให้สอดคล้อง กับโครงสร้างที่ปรับปรุงใหม่ ขอเพิ่มอัตราข้าราชการตั้งใหม่ คำขอในภาพรวมของกระทรวง บูรณาการการใช้อัตรากำลัง ของทุกส่วนราชการในกระทรวง สอดคล้องกับความจำเป็น ตามภารกิจ/ยุทธศาสตร์/นโยบาย จำเป็น โครงสร้างใหม่ สำนัก/กอง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุบเลิกภารกิจที่หมดความจำเป็น/เกลี่ยอัตรากำลัง ใช้รูปแบบการจ้างงานอื่น แผนอัตรากำลังรองรับภารกิจ ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 แผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ 1616
อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณาเห็นชอบ 3. การพิจารณาคำขอเพิ่มอัตรากำลังตั้งใหม่ อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณาเห็นชอบ คปร. ครม. คำขอของส่วนราชการ คำขอของส่วนราชการ คำขอของส่วนราชการ เงื่อนไขตามมาตรการบริหารและพัฒนากำลังคนภาครัฐ (พ.ศ. 2557 – 2561) “...ไม่ให้เพิ่มอัตรากำลังข้าราชการตั้งใหม่ในภาพรวมสำหรับข้าราชการทุกประเภท ยกเว้นกรณีจำเป็นที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้...” 1717
คปร. ครม. คปร. ครม. 4. การพิจารณาทบทวนคำขอ อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณาทบทวนคำขอ เพื่อให้มีการบูรณาการ การใช้อัตรากำลังในภาพรวมของทั้งกระทรวง คปร. ครม. คำขอที่ส่งมาก่อน 17 พ.ค. 59 มีความจำเป็น/ แก้ไขปัญหาเร่งด่วน ของประเทศ คปร. ครม. พิจารณาเป็นรายกรณี
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การขอเพิ่มอัตราข้าราชการตั้งใหม่
แบบวิเคราะห์ความต้องการเพิ่มอัตรากำลัง ตามยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ คือ หัวใจสำคัญในการดำเนินการ
กรอบระยะเวลาการดำเนินการของกระทรวง 1 จัดทำ ทบทวนยุทธศาสตร์ แผนงาน ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ปรับโครงสร้างภายในส่วนราชการ เพื่อรองรับการขับเคลื่อนภารกิจตามยุทธศาสตร์ฯ 2 การขอเพิ่มอัตรากำลังตั้งใหม่ ให้จัดสรรอัตรากำลังภายในกรม มอบหมายงานให้สอดคล้องกับ โครงสร้างสำนัก/กองที่ปรับปรุงใหม่ พิจารณายุบเลิกภารกิจที่หมดความจำเป็น/เกลี่ยอัตรากำลัง/เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารอัตรากำลัง/งาน 3 วิเคราะห์ความต้องการ/จัดทำแผนอัตรากำลังของแต่ละส่วนราชการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (แผนระยะที่ 1-4) กระทรวงจัดทำคำขอเพิ่มอัตรากำลัง โดยพิจารณาบูรณาการการใช้อัตรากำลังของทุกส่วนราชการให้สอดคล้องกับบทบาทภารกิจ นโยบาย และยุทธศาสตร์ 4 เสนอคำขอที่ได้บูรณาการทบทวนการใช้อัตรากำลังในภาพรวมของกระทรวง เสนอ อ.ก.พ. กระทรวง ให้ความเห็นชอบก่อนเสนอ คปร./คพร. พิจารณา
ขอขอบคุณ.... สำนักงาน ก.พ. สำนักกฎหมาย สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน สำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน