ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข กับการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
เขตเศรษฐกิจพิเศษ ?
“เขตเศรษฐกิจพิเศษ” หมายความว่า เขตพื้นที่เฉพาะที่คณะรัฐมนตรีประกาศกำหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการนโยบายเพื่อให้มีการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคอันจำเป็นและการให้บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จในเขตพื้นที่นั้น รวมทั้งให้สิทธิประโยชน์บางประการแก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การค้า การบริการ หรือการอื่นใดที่ประกอบกิจการในเขตพื้นที่นั้น 4/4/2019
เหตุผลของการกำหนดให้มีเขตเศรษฐกิจพิเศษ ส่งเสริมการค้าและการลงทุนของประเทศจากความเชื่อมโยงด้านคมนาคมขนส่งของภูมิภาคอาเซียนตามข้อตกลงการค้าเสรีภายใต้กรอบอาเซียนและกรอบเศรษฐกิจอื่นๆ กระจายการพัฒนาไปสู่พื้นที่ต่างๆ เพื่อมิให้การพัฒนากระจุกตัวเฉพาะในเมืองใหญ่ 4/4/2019
คสช. ประกาศกำหนดพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 จังหวัดตาก จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสงขลา จังหวัดตราด จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดเชียงราย จังหวัดนครพนม จังหวัดหนองคาย จังหวัดนราธิวาส 4/4/2019
กฎหมายที่เกี่ยวกับการพัฒนาในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ กฎหมายด้านอุตสาหกรรมและการลงทุน กฎหมายเกี่ยวกับคนต่างด้าว กฎหมายเกี่ยวกับที่ดิน 4/4/2019
ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับกฎหมาย ต้องขอรับการอนุมัติ อนุญาต หรือขอความเห็นชอบ จากหน่วยงานรัฐหลายหน่วยงานตามที่กฎหมายต่างๆ กำหนดไว้ 4/4/2019
ร่างพระราชบัญญัติเขตเศรษฐกิจพิเศษ พ. ศ ร่างพระราชบัญญัติเขตเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการ 23 สิงหาคม 2559 ให้มี “คณะกรรมการนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ” (นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน) มีอำนาจกำหนดพื้นที่ใดเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษได้ แต่ต้องศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมก่อน โดยต้องรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนในพื้นที่ด้วย เมื่อกำหนดเขตเศรษฐกิจพิเศษจะต้องทำ “แผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่” โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้กำกับดูแล ประสานงานให้เป็นไปตามแผนฯ และรายงานผลต่อคณะกรรมการนโยบาย 4/4/2019
ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย มีอำนาจอนุมัติ อนุญาตฯ ให้มี “ศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ” โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย มีอำนาจอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต หรือให้ความเห็นชอบ หรือมีอำนาจในการ รับจดทะเบียนหรือรับแจ้ง ตามกฎหมาย 9 ฉบับ ดังนี้ 4/4/2019
กฎหมาย 9 ฉบับ ดังนี้ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร กฎหมายว่าด้วยโรงงาน กฎหมายว่าด้วยผังเมือง กฎหมายว่าด้วยการทำงานของคนต่างด้าว เฉพาะตามมาตรา ๔๖ กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง เฉพาะการขออนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวต่อไป กฎหมายว่าด้วยการขุดดินและถมดิน กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข กฎหมายว่าด้วยการจดทะเบียนเครื่องจักร กฎหมายว่าด้วยทะเบียนพาณิชย์ 4/4/2019
สิทธิประโยชน์ ให้คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการนโยบาย สิทธิประโยชน์ ให้คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการนโยบาย คนต่างด้าวถือกรรมสิทธ์ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นได้ โดยไม่ต้องได้รับอนุญาตตามประมวลกฎหมายที่ดิน 2. ผู้ประกอบการสามารถนำคนต่างด้าวเข้ามาและอยู่อาศัย ในราชอาณาจักร ได้แก่ ช่างฝีมือ ผู้บริหารหรือผู้ชำนาญการ และคู่สมรสและบุคคล ซึ่งอยู่ในอุปการะ โดยต้องได้รับอนุญาตจากผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัด มอบหมายก่อนตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด ทั้งนี้ จำนวนและระยะเวลา ให้อยู่ในราชอาณาจักรให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด 3. การยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีอากร 4. สิทธิประโยชน์อื่น 4/4/2019
12 กลุ่มกิจการที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมอัญมณี การผลิตเวชภัณฑ์ การผลิตเครื่องมือแพทย์ การประมง การเกษตร ผลิตภัณฑ์เซรามิก นิคมอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า อุตสาหกรรมเครื่องยนต์ การท่องเที่ยว การขนส่งระหว่างประเทศ กิจการโลจิสติกส์ 4/4/2019
ทบทวน พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐
ใช้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ เพื่อ ราชการส่วนท้องถิ่น ใช้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ เพื่อ คุ้มครอง สุขภาพ ประชาชน ป้องกัน จุลินทรีย์ ที่ก่อโรค มลพิษ สิ่งแวดล้อม
หลักการสำคัญของกฎหมายว่าด้วยสาธารณสุข คุ้มครองประชาชนด้านสุขลักษณะและการอนามัยสิ่งแวดล้อม กระจายอำนาจสู่ส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนดของท้องถิ่นและบังคับใช้ ให้อำนาจ จพง. สาธารณสุขทำหน้าที่ตรวจตรา แนะนำและเป็นที่ปรึกษาด้านวิชาการแก่ จพง. ท้องถิ่น ให้มีคณะกรรมการสาธารณสุข กำกับดูแล ให้การสนับสนุน ให้สิทธิแก่ประชาชนยื่นอุทธรณ์ได้
ข้อกฎหมายที่เปลี่ยนไปตาม พ. ร. บ. การสาธารณสุข (ฉบับที่ ๓) พ. ศ ข้อกฎหมายที่เปลี่ยนไปตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐ (มีผลใช้บังคับ ๑๙ ธ.ค. ๖๐) ๑) เพิ่มกลไกการขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น คณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด(คสจ.)/คณะกรรมการ สาธารณสุขกรุงเทพมหานคร(คสก.) คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์(คพธ.) เลขานุการคณะกรรมการเปรียบเทียบ ๒) เพิ่มมาตรการคุ้มครองประชาชนให้มากขึ้น ม. ๒๘/๑ ให้อำนาจ จพถ. ประกาศเขตพื้นที่ควบคุมเหตุรำคาญ(เชิงรุก) ม. ๕๔ วรรคสอง กำหนดประเภท/ขนาดของกิจการ การรับฟังความ คิดเห็นและหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการพิจารณาก่อนอนุญาต
ข้อกฎหมายที่เปลี่ยนไปตาม พ. ร. บ. การสาธารณสุข (ฉบับที่ ๓) พ. ศ ข้อกฎหมายที่เปลี่ยนไปตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐ (มีผลใช้บังคับ ๑๙ ธ.ค. ๖๐) ๓) ปรับปรุงบทกำหนดโทษ กำหนดโทษ โดยเพิ่มโทษปรับขึ้น ๕ เท่าจากบทกำหนดโทษเดิม คณะกรรมการเปรียบเทียบ(คปท.) อาจมอบให้ จพถ./ผู้ซึ่ง จพถ. มอบหมาย เปรียบเทียบปรับได้ โดยเพิ่มขึ้นกว่าเดิมเป็นกำหนดโทษ จำคุกไม่เกิน ๓ เดือน /ปรับไม่เกิน ๒๕,๐๐๐ บาท /ทั้งจำทั้งปรับ การลงโทษในนิติบุคคลได้
สรุปโครงสร้างอำนาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ. การ สธ. คกก.พิจารณาอุทธรณ์ รมต. กฎ/ประกาศกระทรวง คสจ. / คส.กทม. แต่งตั้ง คณะ กก.สธ. อธิบดีกรมอนามัย สนับสนุน สอดส่องดูแล แจ้ง จพง. สธ. คณะอนุกก. ราชการส่วนท้องถิ่น จพง.ท้องถิ่น ออกข้อบัญญัติ อนุญาต/ไม่อนุญาต ออกคำสั่ง อุทธรณ์ ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งฯ ออกคำสั่ง ตาม ม.8 และเพิ่ม ม. 8/1 ผปก./เอกชน/ประชาชน มีการฝ่าฝืน พ.ร.บ. คณะกรรมการเปรียบเทียบคดี จพง.ท้องถิ่น/ผู้ได้รับมอบหมาย เปรียบเทียบคดี(ปรับ) ดำเนินคดีทางศาล
สารบัญญัติตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร หมวด 5 เหตุรำคาญ หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยง / ปล่อยสัตว์ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่ / ทางสาธารณะ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2)จพง.ท้องถิ่นพิจารณาอนุญาต พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ให้อำนาจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อบัญญัติท้องถิ่น 1) ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น สิ่งปฏิกูล/ มูลฝอย กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กิจการตลาด สถานที่จำหน่าย/ สะสมอาหาร การขายสินค้าในที่/ ทางสาธารณะ 2)จพง.ท้องถิ่นพิจารณาอนุญาต และตรวจตราดูแล กิจการต่าง ๆ 3) กรณี เกิดเหตุรำคาญ ผิดสุขลักษณะอาคาร ฝ่าฝืนข้อกำหนดฯ 4) จพง.ท้องถิ่นออกคำสั่งให้ ปรับปรุง/ แก้ไข หยุดกิจการ พักใช้/เพิกถอนใบอนุญาต
การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย สิ่งปฏิกูล : อุจจาระหรือปัสสาวะ และหมายความรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น มูลฝอย : เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์ หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ หรือที่อื่นๆ และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน
ราชการส่วนท้องถิ่นตาม ขอบเขตการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ของราชการส่วนท้องถิ่นกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม สิ่งปฏิกูล มูลฝอย ขยะทั่วไป ขยะอันตราย สิ่งโสโครก ที่มีกลิ่นเหม็น อุจจาระ ปัสสาวะ ขยะติดเชื้อ ขยะอันตราย จากครัวเรือน ของเสียจากการประกอบ กิจการโรงงาน อยู่ในความควบคุมของ ราชการส่วนท้องถิ่นตาม พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 อยู่ในความควบคุมของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ตาม พรบ.โรงงาน พ.ศ. 2535
ราชการส่วนท้องถิ่น ในกรณีที่มีเหตุอันควร ภาระหน้าที่หลัก 1. ดำเนินการเก็บ/ขน/กำจัดเอง โดยเก็บค่าบริการ ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น (ม.20) ห้ามถ่ายเททิ้ง อัตราค่าธรรมเนียม (ไม่เกินกฎกระทรวง) ในกรณีที่มีเหตุอันควร จัดให้มีที่รองรับ สิ่งปฏิกูล/มูลฝอย 2. อาจมอบให้บุคคลใดดำเนินการแทนภายใต้การควบคุมดูแล วิธีการเก็บ ขน และกำจัดของเจ้าของ/ ผู้ครอบครองอาคารหรือสถานที่ใดๆ แต่ต้อง ปฏิบัติตาม 3. อาจอนุญาตให้บุคคล ที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 19 ดำเนินการแทน หลักเกณฑ์วิธีการ เงื่อนไข ให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติ เรื่องอื่นใดที่จำเป็น
หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร อาคาร : ตึก บ้าน เรือน โรง ร้าน แพ คลังสินค้า สำนักงาน หรือสิ่งที่สร้างขึ้นอย่างอื่น ซึ่งบุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้
สุขลักษณะของอาคาร จนอาจเป็น อันตราย ต่อสุขภาพของ ผู้อยู่อาศัย/เป็นที่ ห้ามเจ้าของ / ผู้ครอบครองอาคาร สุขลักษณะของอาคาร 1. ทำให้อาคาร/ ส่วน /สิ่งที่ต่อเนื่องของอาคาร จนอาจเป็น อันตราย ต่อสุขภาพของ ผู้อยู่อาศัย/เป็นที่ อาศัยของสัตว์ ให้โทษ ชำรุดทรุดโทรม สภาพรกรุงรัง ถ้า ฝ่า ฝืน ข้อ ห้าม 2. มีสินค้า/ เครื่องเรือน/ สัมภาระ/ สิ่งของ มากเกินไป/ซับ ซ้อนกันเกินไป 3. ยอม/จัดให้คน อาศัยอยู่ มากเกินไป จพ.ท้องถิ่น ออกคำสั่งให้แก้ไข/เปลี่ยนแปลง/ รื้อถอน/ย้ายหรือจัดเสียใหม่ มีอำนาจเข้าดำเนินการได้ โดยเจ้าของเป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย ถ้าไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง
หมวด 5 เหตุรำคาญ ( ลักษณะของเหตุรำคาญ (ม.25) ) หมวด 5 เหตุรำคาญ ( ลักษณะของเหตุรำคาญ (ม.25) ) (1) แหล่งน้ำ ทางระบายน้ำ/ที่อาบน้ำ/ ส้วม/ที่ใส่มูล เถ้า สถานที่อื่นใด กลิ่นเหม็น ละอองพิษ ที่เพาะพันธุ์ ทำเลไม่เหมาะสม สกปรก/หมักหมม ในที่/โดยวิธีใด/ มากเกินไป (2) การเลี้ยงสัตว์ จนเป็นเหตุ ให้เสื่อมหรือ อาจเป็นอันตราย ต่อสุขภาพ ไม่มีการระบายอากาศ การระบายน้ำทิ้ง การกำจัดสิ่งปฏิกูล การควบคุมสารพิษ มี แต่ไม่มีการควบคุม จนเกิด กลิ่นเหม็น/ละอองสารพิษ (3) อาคาร/โรงงาน/ สถานประกอบการ ให้เกิด กลิ่น แสง รังสี เสียง ความร้อน สิ่งมีพิษ ความสั่นสะเทือน ฝุ่น ละออง เขม่า เถ้าหรือกรณีอื่นใด (4) การกระทำใด (5) เหตุอื่นใดที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ หมวด 6 การควบคุม การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ กำหนดให้ส่วนใดของพื้นที่ หรือทั้งหมด เป็นเขตควบคุม การเลี้ยง/ปล่อยสัตว์ ม.29 ราชการ ส่วนท้องถิ่น ข้อกำหนดของท้องถิ่น เขตห้ามเลี้ยง/ปล่อยสัตว์บางชนิดโดยเด็ดขาด เขตห้ามเลี้ยง/ปล่อยสัตว์บางชนิดเกินกว่าจำนวนที่กำหนด เขตให้เลี้ยงหรือปล่อยสัตว์บางชนิด โดยต้องอยู่ภายใต้ มาตรการอย่างใดอย่างหนึ่ง
หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ มีผลบังคับใช้ 18 ก.ค. 58 กิจการที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้เป็น กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (141 ประเภท 13 กลุ่ม) 1. กิจการที่เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์(3) (2) 2. กิจการที่เกี่ยวกับสัตว์และผลิตภัณฑ์(8) (7) 3. กิจการที่เกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม น้ำดื่ม ยกเว้นในสถานที่จำหน่ายอาหาร การเร่ขาย การขายในตลาดและการผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือน(26) (24) 4. กิจการที่เกี่ยวกับยา เวชภัณฑ์ อุปกรณ์การแพทย์เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด(5) (5) 5. กิจการที่เกี่ยวกับการเกษตร(9) (9) 6. กิจการที่เกี่ยวกับโลหะหรือแร่(6) (6) 7. กิจการที่เกี่ยวกับยานยนต์ เครื่องจักรหรือเครื่องกล(7) (9) 8. กิจการที่เกี่ยวกับไม้หรือกระดาษ(8) (8) 9. กิจการที่เกี่ยวกับการบริการ(17) (21) 10. กิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ(8) (8) 11. กิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต์ หรือวัตถุที่คล้ายคลึง(11) (12) 12. กิจการที่เกี่ยวกับปิโตรเลียม ปิโตรเคมี ถ่านหิน ถ่านโค้กและสารเคมีต่างๆ(17) (17) 13. กิจการอื่นๆ(10) (13)
การควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ราชการส่วนท้องถิ่นต้องออก ข้อบัญญัติท้องถิ่น (ม.32) (1) กำหนดประเภทกิจการ ที่ต้องควบคุมภายในท้องถิ่น (2) กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไขทั่วไป ประกอบกิจการ ในลักษณะที่ เป็นการค้า ขออนุญาต ต่อจพ.ท้องถิ่น ภายใน 90 วัน เงื่อนไขเฉพาะ ที่จพ.ท้องถิ่นระบุ ในใบอนุญาต ประกอบกิจการ ในลักษณะที่ ไม่เป็นการค้า ต้องปฏิบัติตาม
หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหาร และสถานที่สะสมอาหาร ตลาด สถานที่ซึ่งปกติจัดไว้ให้ผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุม เพื่อจำหน่ายสินค้าประเภท สัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ หรืออาหารอันมีสภาพเป็นของสด ประกอบหรือปรุงแล้ว หรือของเสียง่าย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีสินค้าประเภทอื่นหรือไม่ก็ตาม ให้หมายรวมถึง บริเวณ ซึ่งจัดไว้เพื่อการดังกล่าวเป็นประจำ/ครั้งคราว/ตามวันที่กำหนด
“ตลาด” ตามกฎหมายสาธารณสุข ตามมติคณะกรรมการสาธารณสุข ในการประชุมครั้งที่ 40-4/2548 วันศุกร์ที่ 16 ก.ย. 48 การพิจารณาว่าการประกอบกิจการในลักษณะใด จึงจะถือว่าเป็น “ตลาด” ตามกฎหมายสาธารณสุข นั้น ต้องยึดถือองค์ประกอบตามนิยามคำว่า “ตลาด” เป็นสำคัญ โดยไม่ต้องพิจารณาจำนวนแผงของการจำหน่ายอาหารสดว่าต้องมีเท่าใด หากลักษณะและองค์ประกอบของการประกอบกิจการเป็นไปตามนิยาม ย่อมถือว่าเป็น “ตลาด” ตามกฎหมายสาธารณสุข
ผู้จัดตั้งตลาด ข้อกำหนดของท้องถิ่น เอกชน กระทรวง ทบวง กรม ไม่ต้องขออนุญาต แต่ต้องปฏิบัติตาม ต้องขอ อนุญาต เปลี่ยนแปลง ขยาย/ลด ขนาดตลาด เงื่อนไขเฉพาะที่ แจ้งเป็นหนังสือ เจ้าพนักงาน ท้องถิ่น ต้องปฏิบัติตาม มีอำนาจ ออก ข้อกำหนดของท้องถิ่น
เจ้าพนักงานท้องถิ่น ข้อกำหนดของท้องถิ่น สุขลักษณะของตลาด (ม.35) ที่ตั้ง แผนผัง สิ่งปลูกสร้าง การจัดสถานที่ การวางสิ่งของ การรักษาความสะอาด การกำจัดสิ่งปฏิกูลมูลฝอย การระบายน้ำทิ้ง การป้องกันเหตุรำคาญและการระบาดของโรค สุขลักษณะของผู้ขายและผู้ช่วยขายในตลาด (ม.37)
สถานที่จำหน่ายอาหาร สถานที่สะสมอาหาร อาคาร สถานที่ หรือบริเวณใดๆ ที่มิใช่ที่/ทางสาธารณะ (และมิใช่เป็นการขายของในตลาด) ที่จัดไว้เพื่อประกอบ/ ปรุงอาหาร จนสำเร็จ และจำหน่ายให้ผู้ซื้อสามารถบริโภคได้ทันที ทั้งนี้ไม่ว่าจัดบริเวณไว้สำหรับการบริโภค ณ ที่นั้น หรือนำไปบริโภคที่อื่นก็ตาม สถานที่สะสมอาหาร อาคาร สถานที่ หรือบริเวณใดๆ ที่มิใช่ที่/ทางสาธารณะ (และมิใช่เป็นการขายของในตลาด) ที่จัดไว้สำหรับเก็บอาหาร อันมีสภาพเป็นของสด หรือของแห้ง หรือ อาหารรูปลักษณะอื่นใด ที่ผู้ซื้อ ต้องนำไปทำ ประกอบ ปรุง เพื่อบริโภคในภายหลัง
กรณีที่มีพื้นที่เกินกว่า กรณีที่มีพื้นที่ไม่เกิน ผู้จัดตั้งสถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร กรณีที่มีพื้นที่เกินกว่า 200 ตร.ม. และมิใช่ การขายของในตลาด กรณีที่มีพื้นที่ไม่เกิน 200 ตร.ม. และมิใช่ การขายของในตลาด ปฏิบัติตาม ขออนุญาต แจ้ง ข้อกำหนดของท้องถิ่น เจ้าพนักงานท้องถิ่น
เจ้าพนักงานท้องถิ่น ข้อกำหนดของท้องถิ่น สุขลักษณะเกี่ยวกับ (ม.40) ที่ตั้ง การใช้ การดูแลรักษาสถานที่ อาหาร กรรมวิธีการจำหน่าย ทำ ประกอบ ปรุง เก็บ สะสมอาหาร สุขวิทยาส่วนบุคคล ภาชนะ อุปกรณ์ น้ำใช้ และของใช้อื่นๆ การป้องกันเหตุรำคาญ และการป้องกันโรคติดต่อ
หมวด 9 การจำหน่ายสินค้า ในที่หรือทางสาธารณะ ผู้จำหน่ายสินค้าในที่/ ขออนุญาต ชนิด/ประเภทสินค้า ลักษณะการจำหน่าย สถานที่ขาย เงื่อนไขอื่น ๆ เจ้า พนักงาน ท้องถิ่น ถ้าเปลี่ยน แปลง ต้อง ปฏิบัติ ตาม ต้องแจ้ง มีอำนาจ ข้อกำหนดของท้องถิ่น ประกาศเขต
เจ้าพนักงานท้องถิ่น ร่วมกับเจ้า พนักงานจราจร ข้อกำหนดของท้องถิ่น (ม.43) สุขลักษณะเกี่ยวกับ ผู้ขาย/ผู้ช่วยขาย กรรมวิธีการจำหน่าย ทำ ประกอบ ปรุง เก็บ/สะสม ความสะอาดภาชนะ น้ำใช้ ของใช้ การจัดวาง/การเร่ขาย เวลาจำหน่าย ป้องกันเหตุรำคาญ/โรคติดต่อ ประกาศเขต (ม.42) ห้ามขายหรือซื้อโดยเด็ดขาด ห้ามขายสินค้าบางชนิด ห้ามขายสินค้าตามกำหนดเวลา เขตห้ามขายตามลักษณะ กำหนดเงื่อนไขการจำหน่าย ปิดประกาศที่สำนักงานฯ และบริเวณที่กำหนดเป็นเขต และระบุวันบังคับ โดยไม่น้อยกว่า 15 วันนับแต่วันประกาศ
กฎหมายระดับอนุบัญญัติ Update กฎหมายระดับอนุบัญญัติ
กฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมการออกใบอนุญาตหนังสือรับรองการ แจ้งและการให้บริการในการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย พ.ศ. 2559 (ลงประกาศฯ 30 กันยายน 2559) กฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. 2560 (ลงประกาศฯ 19 เม.ย. 60 มีผลบังคับใช้ 16 ต.ค.60) กฎกระทรวงควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๖๐ (ลงประกาศฯ 4 ส.ค. 60)
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๕๘ (ลงประกาศฯ 17 ก.ค.58 มีผลใช้บังคับ 18 ก.ค. 58) พ.ศ. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 (ลงประกาศฯ 12 ก.พ.61 มีผลใช้บังคับ 13 ก.พ. 61) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง แต่งตั้งเจ้าพนักงานสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (ลงประกาศฯ 9 ก.พ.61 มีผลใช้บังคับ 10 ก.พ. 61)
ประกาศคณะกรรมการสาธารณสุข เรื่อง การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ (ลงประกาศฯ 12 ก.พ.61 มีผลใช้บังคับ 13 ก.พ. 61)
ประกาศคณะกรรมการสาธารณสุข เรื่อง การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งการการเป็นกรรมการผู้ดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรี กรรมการผู้ดำรงตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบล กรรมการผู้ดำรงตำแหน่งผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และกรรมการผู้แทนภาคประชาชนในคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด และคณะกรรมการสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร (ลงประกาศฯ 12 ก.พ.61 มีผลใช้บังคับ 13 ก.พ. 61)
ความก้าวหน้าในการตราอนุบัญญัติ ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะการจัดการสิ่งปฏิกูล พ.ศ. .... (อยู่ระหว่าง สนง.คกก. กฤษฎีกาตรวจพิจารณา) ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของสถานที่ จำหน่ายอาหาร พ.ศ. .... (อยู่ระหว่าง สนง.คกก. กฤษฎีกาตรวจพิจารณา) ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยที่เป็นพิษ หรืออันตราย จากชุมชน พ.ศ. .... (อยู่ระหว่าง นำเสนอคณะกรรมการสาธารณสุข)
ความก้าวหน้าในการตราอนุบัญญัติ ร่างประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการเปรียบเทียบของคณะกรรมการเปรียบเทียบและเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือผู้ซึ่งเจ้าพนักงานท้องถิ่นมอบหมาย พ.ศ. .... ร่างประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขประกาศพื้นที่ควบคุมเหตุรำคาญ พ.ศ. .... ร่างประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง กำหนดประเภทหรือขนาดของกิจการ และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ผู้ขออนุญาตจะต้องดำเนินการก่อนการพิจารณาออกใบอนุญาต พ.ศ. …
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 1100 โทร. 0-2590-4175, 0-2590-4219, 0-2590-4223, 0-2590-4256 โทรสาร 0-2591-8180 http://laws.anamai.moph.go.th/index.htm
Thank You