แนวคิดเดิม Medical Model ผู้พิการเป็นเรื่องส่วนบุคคล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ความเข้าใจเรื่องกลไกสิทธิมนุษยชน เรื่อง
การบูรณาการการจัดการปัญหาทางด้านสังคมของศูนย์พึ่งได้
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
SMS News Distribute Service
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ Convention on the Rights of Persons with Disabilities (CRPD)

แนวคิดเดิม Medical Model ผู้พิการเป็นเรื่องส่วนบุคคล แนวคิดใหม่ Social Model หรือ Human Rights Model คือ การที่ว่า คนพิการเป็นเจ้าของสิทธิและมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกับคนอื่น Medical Model อย่างเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ การละเมิดสิทธิ หรือการเลือกปฏิบัติได้ ซึ่งส่งผลใหญ่กว่าความบกพร่อง

ความเป็นมา CRPD มองว่าปัญหาที่ใหญ่กว่าความบกพร่อง อยู่ที่ การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ปัญหาที่แท้จริงอีกอย่างคือ การไม่สามารถเข้าถึงสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางสังคม เช่น บริการ หรือยา การที่คนพิการไม่ได้มีส่วนร่วม ในการกำหนดมาตรการที่เกี่ยวกับบริการซึ่งเกี่ยวกับชีวิตของเขาโดยตรง เขาเป็นเพียงผู้ถูกกระทำ ดังนั้นถ้าเราสามารถแก้ปัญหาหลัก 3 อย่างโดยใช้การขจัดการเลือกปฏิบัติ (Anti-Discrimination) การเข้าถึงสภาพแวดล้อม บริการต่างๆ (Accessibility) และการมีส่วนร่วม (Participation) เราก็จะสามารถแก้ไขปัญหาเรื่องความพิการ และคนพิการได้

อนุสัญญา CRPD ให้ความสำคัญในเรื่องต่อไปนี้ เคารพศักดิ์ศรีที่มีมาแต่กำเนิด การอยู่ได้ด้วยตนเองเสรีภาพในการตัดสินใจด้วยตนเอง และความเป็นอิสระของบุคคล - CRPD ไม่ยอมรับ “การตัดสินใจ/การคิดแทนโดยปริยาย” (Substituted Decision-Making) CRPD แต่ยอมรับเรื่องการช่วย “การสนับสนุนการตัดสินใจ” (Supported Decision-Making) เพราะคนพิการไม่ใช่ Unable หรือ Disable ที่แปลว่าไม่สามารถทำได้ มองว่าการกระทำของผู้อื่นทำให้ความสามารถของคนพิการนั้นถูกจำกัดลง

CRPD ไม่เห็นด้วยกับ “การบังคับรักษา” ซึ่งขัดกับ CRPD เป็นการคิดแทนทำแทนการทำโดยไม่ได้รับอนุญาต ทั้งนี้ คนพิการจะต้องมีสิทธิอยู่ที่บ้าน อยู่ที่ชุมชน เว้นแต่เขาจะต้องการได้รับการรักษาซึ่งเขาจะต้องได้รับข้อมูลที่สมบูรณ์และยอมรับจริงๆ (full and informed consent) และการรักษานั้นจะต้องดำเนินการโดยคณะบุคคล รวมทั้งเพื่อประโยชน์ของคนพิการเองเท่านั้น

ไม่เลือกปฏิบัติต่อคนพิการ การมีส่วนร่วม การเข้าร่วมของคนพิการได้อย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพในสังคม เคารพความแตกต่าง ยอมรับคนพิการว่าเป็นส่วนหนึ่งของความแตกต่างของมนุษยชาติและความเป็นมนุษย์  

ความเทียมของโอกาส ความเสมอภาคระหว่างชายกับหญิง การเคารพขีดความสารถของเด็กพิการที่มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องและการเคารพสิทธิของเด็กพิการอย่างต่อเนื่องและการเคารพสิทธิของเด็กพิการเพื่อสงวนรักษาอัตลักษณ์แห่งตน

หลักการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ (Accessibility) 1. การปรับสภาพแวดล้อม ทางกายภาพ อาคารสถานที่ รวมถึงการคมนาคมขนส่ง สารสนเทศและการสื่อสาร และบริการต่างๆ ฯลฯ ให้คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้อย่างเท่าเทียมกับคนทั่วไป โดยการออกแบบที่เป็นสากลและเป็นธรรม ต่อคนทุกกลุ่ม เช่น การออกแบบและก่อสร้างสุขาสำหรับคนพิการที่ใช้เก้าอี้เข็นสามารถใช้ได้อย่างเท่าเทียมกับคนทั่วไป การออกแบบบริการข้อมูลผ่านเวปไซท์หรือสื่ออีเล็กทรอนิกส์อื่นใดให้อยู่ในรูปแบบที่คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ เป็นต้น          

2. การจัดให้มีเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก (Assistive Technology) สำหรับคนพิการแต่ละประเภท เช่น เครื่องช่วยฟังสำหรับคนหูหนวก โปรแกรมอ่านจอภาพคอมพิวเตอร์สำหรับคนตาบอด หรือป้ายบอกทางซึ่งใช้ภาษาที่ง่ายต่อความเข้าใจ เป็นต้น 3. การให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสมหรือสมเหตุผล (Reasonable Accommodation) เพื่อลดความเสียเปรียบทางสังคมของคนพิการแต่ละประเภท เช่น การจัดบริการล่ามภาษามือให้แก่คนหูหนวก การให้มีผู้ช่วยคนพิการสำหรับคนพิการที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ อันไม่อาจตอบสนองได้โดยวิธีการทั่วไป รวมถึงความช่วยเหลือเพื่อให้สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม เป็นต้น

สิทธิของคนพิการตามอนุสัญญา CRPD สิทธิความเท่าเทียมและการไม่เลือกปฏิบัติ สิทธิการมีชีวิต เสรีภาพ และความมั่นคงของบุคคล สิทธิได้รับการยอมรับว่ามีความสามารถตามกฎหมายบนพื้นฐานอันเท่าเทียมกัน เสรีภาพจาการถูกทรมาน เสรีภาพจาการถูกแสวงหาประโยชน์ การใช้ความรุนแรงและการล่วงละเมิด สิทธิที่จะได้รับการเคารพต่อศักดิ์ศรี ทางร่างกายและจิตใจ    

เสรีภาพในการย้ายถิ่นฐานและการถือสัญชาติ กรณีสิทธิในการอพยพเข้าไปพักในเกาหลีใต้ มีข้อห้ามชัดเจนว่า ถ้าเป็นคนพิการทางจิต ไม่สามารถขอ VISA เข้าไปในเกาหลีใต้ได้ ทำได้หรือไม่ ? สิทธิในการอาศัยอยู่ในชุมชน เสรีภาพในการแสดงออและแสดงความคิดเห็น สิทธิการเคารพการเป็นส่วนตัว

สิทธิการเคารพในการสร้างครอบครัว และสถาบันครอบครัว กรณี“การบังคับทำหมัน” (Forced Sterilization) ทำได้หรือไม่? สิทธิด้านสุขภาพ สิทธิทางการศึกษา สิทธิด้านการทำงาน สิทธิสำหรับมาตรฐานความเป็นอยู่ที่เพียงพอ สิทธิการมีส่วนร่วมทางการเมืองและเรื่องสาธารณ สิทธิการมีส่วนร่วมทางวัฒนธรรม นันทนาการการผ่อนคลายยามว่างและกีฬา

ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีของอนุสัญญา CRPD  โดยการให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2551 ซึ่งมีผลบังคับใช้ให้ประเทศไทยต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดในอนุสัญญาตั้งแต่วันที่ 28 สิงหาคม 2551 เป็นต้นไป การเป็นรัฐภาคีมีนัยว่ารัฐบาลประเทศนั้นตระหนักว่ามีการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการมิได้ จะต้องเคารพ คุ้มครองและสิทธิที่พึงมีแก่คนพิการเท่าเทียมกับบุคคลทั่วไป นอกจากนี้จะต้องมีการปฏิบัติดังนี้

1. รัฐภาคีจะต้องกำหนดหน่วยงานรับผิดชอบหลัก(Focal Point) เพื่อเป็นกลไกประสานงานภาครัฐ ดูแลประเด็นที่สนับสนุนการดำเนินงาน ในภาคส่วนต่างๆ และประเทศไทยได้กำหนดให้กระทรวงการพัฒนาและความมั่นคงของมนุษย์เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักตามอนุสัญญาฉบับนี้ 2. รัฐภาคีจะต้องจัดตั้งโครงสร้างภายใน เพื่อส่งเสริมพิทักษ์และติดตามการปฏิบัติตามอนุสัญญาฉบับนี้ เช่น ตั้งคณะกรรมการที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับอนุสัญญา โดยมีองค์ประกอบที่มาจากทุกภาคส่วน 3. รัฐภาคีจะต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมโดยเฉพาะคนพิการ และองค์กรของคนพิการให้มีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการติดตามการดำเนินงาน 4. รัฐภาคีจะต้องมรการจัดทำรายงานเกี่ยวกับมาตรการในการปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาภายในเวลา 2 ปี หลังจากอนุสัญญามีผลบังคับใช้ และหลังจากนั้นต้องส่งฉบับต่อๆ ไป อย่างน้อยทุกๆ 4 ปี หรือเมื่อคณะกรรมการร้องขอ

กฎหมายไทยที่สอดคล้องกับอนุสัญญา CRPD   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2)พ.ศ.2545 พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 พรบ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2)พ.ศ.2550 พรบ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ.2551 พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551