การพัฒนาศักยภาพผู้เรียนบริหารธุรกิจ ด้วยการบวนการสอนเเบบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
ชื่อเรื่อง สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครู ผู้วิจัย
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ผู้วิจัย นายมณัฐ เฮ่ประโคน
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายศุภพล มงคลเจริญพันธ์
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
โดย ครูวินิญากรณ์ วัตรสติ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
in the Second Semester of 2013

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
การสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทาง การศึกษาทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
วัตถุประสงค์การวิจัย
Seminar 1-3.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาศักยภาพผู้เรียนบริหารธุรกิจ ด้วยการบวนการสอนเเบบ Integration of teaching 5 skill T-TECH Miss. Ganokwan Pansila Teerapada Technological College

List of Presentation Today ที่มาและความสำคัญ วัตถุประสงค์การวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การเก็บข้อมูลในการวิจัย ผลการวิเคราะห์ สรุปผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ

ที่มาและความสำคัญ ขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ Negative Factor ขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ ติดกับดักตำรารูปแบบเก่าและการท่องจำ ขาดทักษะในการนำเสนองานและองค์ความรู้ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นน้อย ประสิทธิภาพในการเรียนอยู่ในระดับปานกลาง การใช้ประโยชน์ของการเรียนในชีวิตจริงน้อย

ที่มาและความสำคัญ Positive Factor การพัฒนาคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ การยกระดับคุณภาพของการศึกษาไทยและ อาชีวะศึกษา การแข่งขันทางการศึกษาและการพัฒนาด้าน เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมุติฐานของการวิจัย 1.เพื่อศึกษาการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนบริหารธุรกิจด้วยกระบวนการสอนเเบบ Integration of teaching 5 skill 2. เพื่อสำรวจข้อมูลเพื่อการวิจัยการจัดกระบวนการสอนเเบบ Integration of teaching 5 skill 3.เพื่อหาเเนวทางในการพัฒนากระบวนการสอนที่หลายหลายมากขึ้นเพื่อเสริมสร้างทักษะเเละความรู้ใหม่ให้กับระบบการศึกษา สมมุติฐานของการวิจัย 1. การกระบวนการสอนเเบบ Integration of teaching 5 skill สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนบริหารธุรกิจได้ 2. จากการสำรวจความคิดเห็นกระบวนการสอนเเบบ Integration of teaching 5 skill อยู่ในระดับดี 3. กระบวนการสอนเเบบ Integration of teaching 5 skill สามารถเสริมสร้างทักษะและกระบวนการทางความคิด และผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

What is Integration of teaching 5 skill ? ทักษะการศึกษาจากกรณีศึกษา ใช้วิธีแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method ) ทักษะเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทักษะการลงมือปฏิบัติ ใช้วิธีการใช้สมาร์ทโฟน และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (Smartphone/ Electronic Method ) ใช้วิธีแบ่งกลุ่มทำงาน ( Committee Work Method ) 5 ทักษะเจตคติที่ดีต่อการเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห์ ใช้วิธีแบบบรรยาย (Lecture Method ) ใช้วิธีอภิปราย ( Discussion Method )

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น Dependent ข้อมูลทั่วไป 1. เพศ 2. อายุ 3.ระดับการศึกษา 4. ประสบการณ์ในการเรียนสายอาชีพ ตัวแปรต้น Independent เเบบสำรวจข้อมูลเพื่อการวิจัย การจัดการเรียนการสอนเเบบ Integration of teaching 5 skill ด้านทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ ด้านทักษะกระบวนการ ลงมือปฏิบัติ ด้านทักษะการศึกษาค้นคว้าจากรณีศึกษา ด้านทักษะเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ด้านเจตคติต่อกระบวนการเรียนการสอน 1. กรณีศึกษาใน ชีวิตประจำวัน 2. การค้นคว้า น่าสนใจ 3. การแลกเปลี่ยน ความรู้ 4. เทคนิคการสอน หลากหลาย 5.การกระตุ้นการ เรียนรู้ 1. การเพิ่งพาเทคโนโลยี 2. การใช้สมาร์ทโฟน 3. เนื้อหาออนไลน์ที่ หลากหลาย 4. การใช้เทคโนโลยีที่ เหมาะสม 5. การมี Connection 1. เปิดโอกาสคิด วิเคราะห์ 2. การคิดที่หลากหลาย 3. การช่างสังเกต 4. การใช้สมองและ ความคิด 5. การกล้าคิดและ การตัดสินใจ 1. การลงมือปฏิบัติ 2. ความหลากหลายและ ความน่าสนใจ 3. ความเชี่ยวชาญของครู 4. เปิดโอกาสในการลงมือ ปฏิบัติ 5. ความไม่ซับซ้อนของ เนื้อหา 1. ความรู้ความเข้าใจ เนื้อหา 2. ความกระตือรือร้น 3. ความพึงพอใจ 4. การสอนที่ หลากหลาย 5. การใช้ประโยชน์ใน ชีวิตจริง

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนเเผนกวิชาบริหารธุรกิจเเละการตลาด ปวส.1 และ ปวส.2 วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดาร้อยเอ็ด รวมทั้งหมด 104 คน โดยมีเหตุผลในการเลือกกลุ่มตัวอย่างคือ เป็นห้องเรียนที่ได้จากการสุ่มอย่างง่าย ( Simple random sampling ) ปวส.1 ปวส.2 สาขาวิชา จำนวน (คน) การบัญชี 22 21 การตลาด 18 15 ธุรกิจค้าปลีก 13 รวม 55 49

เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยแบ่งออกเป็น 3 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบเเบบสอบถาม จำนวน 4 ข้อ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการเรียนสายอาชีพ (Checklist) ตอนที่ 2 เเบบสำรวจข้อมูลเพื่อการวิจัยการจัดการเรียนการสอนเเบบ Integration of teaching 5 skill โดยครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน (Rating Scale) ได้เเก่ 1. ด้านทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ 2. ด้านกระบวนการลงมือปฏิบัติ 3. ด้านการศึกษาค้นคว้าจากกรณีศึกษา 4. ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 5. ด้านเจตคติต่อกระบวนการเรียนการสอน ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เป็นแบบสอบถามปลายเปิดที่ใช้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนเเบบ Integration of teaching 5 skill

ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล 1. มองเห็นปัญหาของการจัดการเรียนการสอนพร้อมทั้งคิดวิธีพัฒนาการสอนเพื่อการทำวิจัย และทดสอบก่อนเรียน 2. ทำแบบสอบถามตามกลุ่มตัวอย่าง / ตรวจสอบความถูกต้องของแบบสอบถาม 1 2 3 สอนนักเรียนด้วยกระบวนการเรียนการสอน แบบ Integration of teaching 5 skill / ทดสอบหลังเรียน 4 5 4. แจกแบบสอบถามให้ผู้เรียน/ พร้อมเก็บ แบบสอบถาม 5. สรุปและประเมินผลการวิจัยเพื่อนำไปพัฒนาต่อ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ผลการศึกษาวิจัย S.D. X ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ตอนที่ 2 สำรวจข้อมูลเพื่อการวิจัยการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนบริหารธุรกิจด้วยการบวนการสอนเเบบ Integration of teaching 5 skill ทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ ทักษะการลงมือปฏิบัติ ทักษะการศึกษาค้นคว้า (Case Study) ทักษะการใช้เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา ทักษะเจตคติต่อกระบวนการเรียน โอกาสในคิดวิเคราะห์ นักเรียนลงมือปฏิบัติมากขึ้น กรณีศึกษามีความน่าสนใจ เปิดโอกาสใช้เทคโนโลยี มีความรู้ในสาระวิชามากขึ้น การคิดสิ่งใหม่ๆ นอกเหนือตำรา ความหลากหลายน่าสนใจ' ผู้เรียนมีความสนใจมากขึ้น สมาร์ทโฟนดึงดูดการเรียนได้ นักเรียนมีความกระตือรือล้น การหัดช่างสังเกต ครูผู้สอนมีความเชี่ยวชาญ ได้แลกเปลี่ยนความรู้ นักเรียนเข้าใจเนื้อหาที่หลากหลาย ผู้เรียนชอบการบวนการเรียน การใช้สมองและความคิด เปิดโอกาสให้ลงมือปฏิบัติจริง เทคนิคการสอนที่แปลกใหม่ รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การเรียนการสอนไม่น่าเบื่อ การกล้าลองตัดสินใจเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ มีเนื้อหาเข้าใจง่ายครบถ้วน กระตุ้นการเรียนของผู้เรียน มี connection ในการเรียนรู้มากขึ้น นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.4 4.47 4.44 4.54 4.57 0.54 0.44 0.38 0.49 0.47 ดี ดีมาก X S.D. ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ผู้เรียนมีแนวโน้มการเรียนที่ดีขึ้น การสอนเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้เรียนรู้ด้วยตอนเองและกรณีศึกษา มีทักษะในการนำเสนอมากขึ้น และรู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

ข้อเสนอแนะ บูรณาการเรียนการสอน 5 Integration of teaching 5 skill ในทุกวิชา ควรมีการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้น่าสนใจ ดึงดูดความสนใจของผู้เรียนมากยิ่งขึ้น ครูผู้สอนควรหากิจกรรมเสริมในชั่วโมงเรียนเพื่อให้ผู้เรียนเรียนแล้วรู้สึกไม่น่าเบื่อเกินไป ครูผู้สอนเรียนรู้ผู้เรียน ความชอบ ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อนำมาเป็นกรณีศึกษาในเรื่องที่นักเรียนสนใจ เกิดกระบวนการเรียนรู้ใหม่ๆ ทำให้คลาสเรียนมีสีสันและความสุข

Miss. Ganokwan Pansila Teerapada Technological College