(National Test: NT) การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559
ภาษา (Literacy) การคิดคำนวณ (Numeracy) NT ป.3 เหตุผล (Reasoning Ability)
สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา กลุ่มพัฒนาเครื่องมือฯ และการให้บริการ กลุ่มงาน พัฒนาข้อสอบ NT (3 ด้าน) บริการ จัดการทดสอบ รายงานผล การทดสอบ บทบาท มีมาตรฐานและ ถูกต้องตามหลักวิชาการ รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และมีความน่าเชื่อถือ จุดเน้น
วันพุธที่ 8 มีนาคม 2560 วันสอบ วันจันทร์ที่ 24 เมษายน 2560 ประกาศผล
การดำเนินงานจัดสอบ NT การแต่งตั้งกรรมการ งบประมาณในการดำเนินงาน การจัดส่งข้อมูลนักเรียน การรับส่งข้อสอบและเฉลย การบริหารจัดการสอบ การประมวลผล การรายงานผลการสอบ
รูปแบบการบริหารจัดการ NT คณะกรรมการอำนวยการระดับ สพฐ. คณะอนุกรรมการอำนวยการระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการอำนวยการระดับเขตพื้นที่ เขตพื้นที่การศึกษา รร.ตชด. รร.อปท./เทศบาล/ กทม./พัทยา รร.สพฐ. รร.เอกชน รร.สาธิต
งบประมาณในการดำเนินงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาละ 25,000 บาท โรงเรียนละ 230 บาท นักเรียนคนละ 10 บาท (ไม่รวมค่าข้อสอบและกระดาษคำตอบ)
การจัดส่งข้อมูลนักเรียน ใช้ข้อมูลนักเรียนชั้น ป.3 ร่วมกับการสอบการอ่านออกเขียนได้ (ไม่ต้องส่งข้อมูลใหม่) โดยใช้ข้อมูลจากฐาน DMC เป็นหลักแล้ว ใช้ข้อมูลจากการประชุมครั้งนี้มาผนวก มีการตรวจสอบข้อมูลนักเรียนในช่วงเดือน พฤศจิกายน 2559 (โรงเรียนตรวจสอบข้อมูล) ตรวจสอบแล้ว ยังไม่ได้ตรวจสอบ ยังไม่มีข้อมูล 3. ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนผ่านระบบ NT Access
ระบบการเข้าถึงการบริหารจัดการสอบ NT (NT Access) เริ่มใช้ระบบวันที่ 1 พ.ย. 59 NT Access เขตพื้นที่การศึกษา 1 2 NT ESAR สถานศึกษา
ระบบการเข้าถึงการบริหารจัดการสอบ NT (NT Access) 1. เป็นระบบใหม่ที่พัฒนาแยกมาจากระบบ EPCC เดิม (ของเดิมยังมีอยู่) 2. เป็นระบบที่โรงเรียน และเขตพื้นที่การศึกษา สามารถเข้าถึงการจัดสอบ NT ได้ 3. การเข้าถึงของโรงเรียนและนักเรียน จะเป็น 3.1 การดูผลการสอบ NT ในปีที่ผ่านมาถึงปัจจุบัน 3.2 ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนในสถานศึกษาของตนเอง 4. การเข้าถึงของเขตพื้นที่การศึกษา จะเป็นการ 4.1 ส่งข้อมูลจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบในแต่ละสถานศึกษาในเขตของตนเอง 4.2 ตรวจสอบข้อมูลจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบในแต่ละสถานศึกษาในเขตของตนเอง 4.3 รับ-ส่ง รหัสการเข้าถึง NT Access 4.4 รับเฉลยข้อสอบอัตนัยจาก สพฐ. 4.5 ดูรายงานผลการสอบ NT ในปีปัจจุบันเป็นต้นไป (ปี2559) 4.6 วิเคราะห์และประมวลผลการจัดสอบในระดับเขตพื้นที่ (ESAR) 4.7 สอบถามหรือแจ้งปัญหา หรือแนะนำข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับ NT ในปีปัจจุบัน
การรับส่งข้อสอบและเฉลย 1. การส่งข้อสอบจะส่งข้อสอบไปยังเขตพื้นที่ 1 – 7 มีนาคม 2560 2. หน่วยงานอื่นๆ มารับข้อสอบที่เขตพื้นที่การศึกษา 3. การส่งเฉลยจะส่งผ่านทางระบบ NT Access (จะส่งรหัสเปิดไฟล์เฉลย ไปให้ในเวลา 15.00 น. ของวันที่ 8 มีนาคม 2560) 4. การส่งกระดาษคำตอบ แนวทางที่ 1 ส่งมาที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระหว่าง วันที่ 10 – 15 มีนาคม 2560 แนวทางที่ 2 ส่งมาทางบริษัทที่จัดส่งข้อสอบ 10 – 15 มีนาคม 2560 5. เปิดเผยข้อสอบพร้อมเฉลย ตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม 2560 เป็นต้นไป หรือวันที่เขตสุดท้ายส่งข้อสอบมายัง สพฐ.
การบริหารจัดการสอบ วันสอบ วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 8.30 – 14.00 น. 2. แต่งตั้งคณะกรรมการคุมสอบจากต่างโรงเรียน 3. เขตพื้นที่เป็นหน่วยงานหลัก ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน ต่างสังกัดในจังหวัด (สพฐ.จะทำหนังสือขอความร่วมมือไปยังหน่วยงาน ต้นสังกัด) 4. สพฐ.จะเป็นผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการผลิตข้อสอบและกระดาษคำตอบ ให้แก่นักเรียนทุกสังกัด (รวมการจัดส่งด้วย)
การประมวลผล 1. หน่วยงานที่ประมวลผลคือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. ประมวลผลข้อมูลเป็นรายบุคคล รายโรงเรียน รายเขตพื้นที่ รายจังหวัด รายภาค รายสังกัด และภาพรวมประเทศ 3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆของนักเรียนกับ ความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน (งานวิจัย)
การรายงานผล 1. ประกาศผลสอบ วันที่ 24 เมษายน 2560 เป็นต้นไป 2. ดูผลสอบของนักเรียนผ่านระบบ NT Access 3. ปรับเปลี่ยนแบบรายงานผลสอบผู้เรียนเป็นรายบุคคล
ติดต่อสอบถาม NT กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สพฐ. Phone 02-2885783, 02-2885787 Fax 02-2816236 ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป 081-4324688 การบริหารจัดการสอบ NT อ.ณัฐพร พรกุณา 081-7758315 อ.ก้องเกียรติ ปิ่นกุมภีร์ 089-2195054 อ.ศรีกันยา ธรรมพิทักษ์ 099-9726451 การประมวลผลและรายงานผล อ.วิทยา บัวภารังษี 081-6606326 อ.ประจักษ์ คชกูล 085-6865764 อ.มีนา จีนารักษ์ 081-7296913
การยกระดับ ผลการประเมินความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน (NT) สู่ความเป็นเลิศ (Literacy, Numeracy, Reasoning Ability Assessment) ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การยกระดับผลการประเมิน LNR 5. พัฒนาข้อสอบรูปแบบเดียวกับข้อสอบ LNR (LNR Like) 6. ประยุกต์ใช้ในการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน
1. ศึกษาผลการประเมิน LNR ในปีการศึกษาที่ผ่านมา 2
แจ้งให้ครูประจำชั้น ป.4 ทราบ 1 ตรวจสอบดูว่า “ตัวชี้วัดไหนที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ำมาก หรือน้อยกว่าร้อยละ 50” และวางแผนเพื่อปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน 2
2. การศึกษานิยามและตัวชี้วัดของ LNR ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ความสามารถด้านการคิดคำนวณ (Numeracy) ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability)
ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ความสามารถในการอ่าน เพื่อรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ สรุปสาระสำคัญ ประเมินสิ่งที่อ่านจากสื่อประเภทต่างๆ รู้จักเลือกอ่านตามวัตถุประสงค์ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันและการอยู่ร่วมกันในสังคม ใช้การอ่านเพื่อการศึกษาตลอดชีวิต และสื่อสารเป็นภาษาเขียนได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาและอย่างสร้างสรรค์ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
ด้านภาษา (Literacy) 1. บอกความหมายของคำและประโยคจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 2. บอกความหมายของเครื่องหมาย/สัญลักษณ์ 3. ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 4. บอก เล่าเรื่องราวที่ได้จากการฟัง-ดู/อ่านอย่างง่ายๆ 5. คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 6. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่านอย่างเหมาะสม ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถด้านภาษา (Literacy) ชั้น ป.3
ความสามารถการคิดคำนวณ (Numuracy) ความสามารถในการใช้ทักษะการคิดคำนวณ ความคิดรวบยอด และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
ด้านคิดคำนวณ (Numeracy) ความคิดรวบยอดด้านการวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น ความคิดรวบยอดด้านจำนวนและการดำเนินการ ความคิดรวบยอดด้านการวัด ความคิดรวบยอดด้านพีชคณิต ความคิดรวบยอดด้านเรขาคณิต ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ + ทักษะการคิดคำนวณ ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถคำนวณ (Numeracy) ชั้น ป.3
ความสามารถด้านเหตุผล(Reasoning Ability) ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และด้านการดำเนินชีวิต โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และตัดสินใจอย่างมีหลักการ และเหตุผล บนพื้นฐานของข้อมูลสถานการณ์ หรือสารสนเทศที่เพียงพอ โดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
ด้านเหตุผล(Reasoning Ability) มีความรู้ความเข้าใจในข้อมูลสารสนเทศด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมเศรษฐกิจ และการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล วิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศ โดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดําเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล สามารถสร้างข้อสรุปใหม่ ออกแบบ วางแผน บนพื้นฐานของข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ โดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดําเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล ให้ข้อสนับสนุน/โต้แย้งเพื่อการตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างมีหลักการและเหตุผล คำนึงถึงคุณธรรมและจริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อในกรณีที่มีสถานการณ์ที่ต้องการตัดสินใจ/มีปัญหา ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) ชั้น ป.3
3. การพัฒนาความสามารถด้าน LNR ให้แก่ผู้เรียน การจัดกิจกรรมเรียนรู้ในหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระฯ การจัดการเรียนรู้เฉพาะในกลุ่มสาระที่เกี่ยวข้อง การจัดกิจกรรมเรียนรู้เสริมหลักสูตร การจัดกิจกรรมชุมชน/ชมรม การจัดกิจกรรมเข้าค่าย
การวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างตัวชี้วัด LNR กับมาตรฐาน/ตัวชี้วัดของหลักสูตร กลุ่มสาระ การเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เชื่อมโยง
ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ตัวชี้วัด มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1. บอกความหมายของคำและประโยคจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน มฐ. ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน 2. บอกความหมายของเครื่องหมาย/สัญลักษณ์ มฐ. ท.1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน 3. ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน มฐ. 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ความสามารถด้านคิดคำนวณ (Numeracy) ตัวชี้วัด มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1. ใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หรือทักษะการคิด คำนวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทาง ปฏิบัติหรือหาคำตอบจากสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทาง คณิตศาสตร์เรื่อง จำนวนและการดำเนินการตามขอบข่ายสิ่งเร้า มฐ. ค 1.2เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการของจำนวนและความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหา 2. ใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หรือทักษะการคิด คำนวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทาง ปฏิบัติหรือหาคำตอบจากสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทาง คณิตศาสตร์เรื่อง การวัดตามขอบข่ายสิ่งเร้า มฐ. ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด มฐ. ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) ตัวชี้วัด มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1. มีความรู้ความเข้าใจในข้อมูลสารสนเทศด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมเศรษฐกิจ และการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล มฐ. ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2. วิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศ โดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดําเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล มฐ. ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มฐ. ว 2.2 เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในหลักสูตร ตัวชี้วัดของ L N R ที่สอดคล้อง กับมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรฯ หน่วยที่ 1 K P A หน่วยที่ 2 หน่วยที่... หน่วยที่ 3 จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ L N R
การจัดกิจกรรมเรียนรู้เสริมหลักสูตร LNR ตัวชี้วัด กิจกรรม/โครงการ เป้าหมาย เชื่อมโยง
4. เรียนรู้ตัวอย่างข้อสอบที่ใช้ในการสอบ LNR สถานการณ์ โจทย์ข้อคำถาม คำตอบ
ลักษณะของข้อสอบแบบแยกส่วน สถานการณ์/เนื้อเรื่อง สถานการณ์/เนื้อเรื่อง สถานการณ์/เนื้อเรื่อง ข้อคำถาม องค์ประกอบที่ 1 ข้อคำถาม องค์ประกอบที่ 2 ข้อคำถาม องค์ประกอบที่ 3
ลักษณะของข้อสอบแบบเกี่ยวเนื่อง/สัมพันธ์ สถานการณ์/เนื้อเรื่อง ข้อคำถาม องค์ประกอบที่ 1 ข้อคำถาม องค์ประกอบที่ 2 ข้อคำถาม องค์ประกอบที่ 3
สถานการณ์ 1 2 ข้อคำถาม 3 คำตอบ
สถานการณ์ 1 2 ข้อคำถาม 3 คำตอบ
ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ความสามารถในการอ่าน เพื่อรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ สรุปสาระสำคัญ ประเมินสิ่งที่อ่านจากสื่อประเภทต่างๆ รู้จักเลือกอ่านตามวัตถุประสงค์ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันและการอยู่ร่วมกันในสังคม ใช้การอ่านเพื่อการศึกษาตลอดชีวิต และสื่อสารเป็นภาษาเขียนได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาและอย่างสร้างสรรค์ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
ด้านภาษา (Literacy) 1. บอกความหมายของคำและประโยคจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 2. บอกความหมายของเครื่องหมาย/สัญลักษณ์ 3. ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 4. บอก เล่าเรื่องราวที่ได้จากการฟัง-ดู/อ่านอย่างง่ายๆ 5. คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 6. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่านอย่างเหมาะสม ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถด้านภาษา (Literacy) ชั้น ป.3
ให้นักเรียนเขียนอธิบายเส้นทางการเดินทางจากโรงเรียนไปยังโรงเรียนฝึกอาชีพ ให้นักเรียนเขียนอธิบายเส้นทางการเดินทางจากโรงเรียนไปยังโรงเรียนฝึกอาชีพที่สั้นที่สุด
ความสามารถการคิดคำนวณ (Numuracy) ความสามารถในการใช้ทักษะการคิดคำนวณ ความคิดรวบยอด และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
ด้านคิดคำนวณ (Numeracy) ความคิดรวบยอดด้านการวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น ความคิดรวบยอดด้านจำนวนและการดำเนินการ ความคิดรวบยอดด้านการวัด ความคิดรวบยอดด้านพีชคณิต ความคิดรวบยอดด้านเรขาคณิต ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ + ทักษะการคิดคำนวณ ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถคำนวณ (Numeracy) ชั้น ป.3
ความสามารถด้านเหตุผล(Reasoning Ability) ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และด้านการดำเนินชีวิต โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และตัดสินใจอย่างมีหลักการ และเหตุผล บนพื้นฐานของข้อมูลสถานการณ์ หรือสารสนเทศที่เพียงพอ โดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)
ด้านเหตุผล(Reasoning Ability) มีความรู้ความเข้าใจในข้อมูลสารสนเทศด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมเศรษฐกิจ และการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล วิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศ โดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดําเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล สามารถสร้างข้อสรุปใหม่ ออกแบบ วางแผน บนพื้นฐานของข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ โดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดําเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล ให้ข้อสนับสนุน/โต้แย้งเพื่อการตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างมีหลักการและเหตุผล คำนึงถึงคุณธรรมและจริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อในกรณีที่มีสถานการณ์ที่ต้องการตัดสินใจ/มีปัญหา ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) ชั้น ป.3
สถานการณ์ บริเวณบ้านหลังหนึ่งเป็นดังภาพ บ้าน เหนือ ตะวันออก ตะวันตก ใต้ ต้นมะม่วง 1 3 4 สระน้ำ 2 คำถาม จากภาพ ถ้าต้องการปลูกพืชที่ต้องการแสงแดดมากในตอนเช้า จะต้องเลือกปลูกบริเวณหมายเลขใด
ปริมาณแสงที่พืชต้องการ สถานการณ์ บริเวณบ้านหลังหนึ่งเป็นดังภาพ บ้าน เหนือ ตะวันออก ตะวันตก ใต้ ต้นมะม่วง 1 3 4 สระน้ำ 2 แสงแดดจัดในตอนบ่าย เฟี่องฟ้า แสงแดดรำไรตลอดวัน เฟิร์น แสงแดดจัดในตอนเช้า เข็ม แสงแดดจัดตลอดวัน กุหลาบ ปริมาณแสงที่พืชต้องการ ชนิดของพืช ตารางแสดงปริมาณแสงที่พืชต้องการ คำถาม จงเลือกตำแหน่งในการปลูกพืชในแต่ละชนิด
5. พัฒนาข้อสอบรูปแบบเดียวกับข้อสอบ LNR (LNR Like) แผนผังเครื่องมือ วิเคราะห์นิยามและตัวชี้วัด การวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือ สร้างเครื่องมือ ปรับปรุง/บรรณาธิการกิจ เครื่องมือ ตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา นำเครี่องมือไปทดลองใช้ การตรวจสอบภาษา/ ความถูกต้องตามหลักการวัดผล นำเครื่องมือไปใช้/ เก็บเข้าคลังข้อสอบ
รูปแบบข้อสอบประเมิน LNR - แบบเลือกตอบ - แบบเขียนตอบ
รูปแบบข้อสอบเลือกตอบ 1. แบบคำตอบเดียว (Multiple choice: MC) 2. แบบหลายคำตอบ (Multiple-selection /Multiple Response: MS) 3. แบบเชิงซ้อน (complex multiple choice: CM) 4. แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์(Responses related: RR) เลือกตอบ
1. แบบคำตอบเดียว (multiple choice) เป็นลักษณะข้อสอบเลือกตอบ ที่มีคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
2. แบบเลือกหลายคำตอบ (Multiple-selection) เป็นลักษณะข้อสอบเลือกตอบ ที่มีข้อคำถามเอื้อให้คิดคำตอบได้หลากหลายคำตอบ มีคำตอบถูกมากกว่า 1 คำตอบ
3. แบบเลือกตอบเชิงซ้อน (complex multiple choice) เป็นลักษณะข้อสอบที่มีข้อคำถามย่อยรวมอยู่ในข้อเดียวกัน โดยข้อคำถามแต่ละข้อจะถามข้อคิดเห็นหรือข้อเท็จจริงหรือข้อสรุปจากเรื่องที่อ่าน
4. แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์ (Responses related) เป็นลักษณะข้อสอบเลือกตอบมากกว่า 1 ข้อ ที่มีเงื่อนไขให้คิดที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน โดยคำตอบในข้อที่แรก จะต้องเป็นข้อมูลที่ใช้ในการตอบข้อคำถามต่อไป
รูปแบบข้อสอบแบบเขียนตอบในชั้นเรียน 1. แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น (Restricted Response or Shot Essay Item) 4. แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์( 2. แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ (Unrestricted Response or extended Response) เขียนตอบ
1.แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น (Restricted Response or Shot Essay : SE) เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้คิดและเขียนคำตอบภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด และมีแนวของคำตอบที่ชัดเจน (ออกยาก แต่ตรวจง่าย)
2. แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ (Unrestricted Response or extended Essay: EE) เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้อิสระในการคิด โดยเปิดโอกาสให้คิดและเขียนภายใต้หลักวิชาที่สมเหตุสมผล ต้องมีประเด็นหรือเกณฑ์ในการตรวจให้คะแนนที่ชัดเจนครอบคลุม (ออกง่าย แต่ตรวจยาก)
แผนผังแบบสอบ (Test Blueprint) ด้าน องค์ประกอบ/ตัวขี้วัด ประเภทข้อสอบ รวม ข้อสอบ MC MS CM RR SE EE ด้านภาษา Literacy 1. บอกความหมายของคำและประโยคจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 4 2. บอกความหมายของเครื่องหมาย/สัญลักษณ์ 3. ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 2 4. บอก เล่าเรื่องราวที่ได้จากการฟัง-ดู/อ่านอย่างง่ายๆ 1 5. คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 3 6. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่านอย่างเหมาะสม 8 20
หลักการเขียนข้อสอบตามแนว LNR 1. ข้อคำถามต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับพื้นความรู้ของผู้ตอบ 2. ควรคัดเลือกรูปแบบของข้อสอบให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของนักเรียนที่ระบุไว้ในตัวชี้วัด 3. สถานการณ์ในข้อคำถามจะต้องมีข้อมูลเพียงพอและจำเป็นต่อการตอบคำถาม รวมทั้งมีความชัดเจน และเหมาะสมกับระดับผู้เรียน 4. ข้อคำถามต้องสอดคล้องกับสถานการณ์ มีความชัดเจน และสอดคล้องกับตัวชี้วัด และพฤติกรรมที่ต้องการวัด 5. ข้อคำถามของข้อสอบเขียนตอบต้องเปิดโอกาสให้อธิบายวิธีคิด แสดงวิธีทำ หรือให้เหตุผลเพื่อสนับสนุนคำตอบ 6. ควรเตรียมเฉลยคำตอบและกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนตามขั้นตอนและน้ำหนักที่ต้องการเน้นไว้ด้วย 7. การกำหนดเวลาในการสอบ จะต้องสอดคล้องกับความยาวและลักษณะคำตอบที่ต้องการ ระดับความยากง่ายและจำนวนข้อสอบ
6. การประยุกต์ใช้ในการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน การประเมินในกิจกรรมเรียนรู้ในหลักสูตร ประเมินจากมาตรฐานตัวชี้วัดของกลุ่มสาระฯต่างๆ (Content based Assessment) การประเมินนอกเหนือจากกิจกรรมเรียนรู้ในหลักสูตร ประเมินจากตัวชี้วัดของความสามารถ LNR (Free Content based Assessment)
การประเมินความสามารถด้าน LNR ของผู้เรียน การประเมินในกิจกรรมเรียนรู้ในหลักสูตร ประเมินจากมาตรฐานตัวชี้วัดของกลุ่มสาระฯต่างๆ (Content based Assessment) Literacy มาตรฐาน/ตัวชี้วัด Numeracy Reasoning ability เนื้อหาตามตัวชี้วัด
บทบาทของการวัดและประเมินผลในระดับชั้นเรียน มาตรฐานและตัวชี้วัด ตามหลักสูตรฯ การประเมินเพื่อปรับปรุงและพัฒนา (Formative Assessment) การประเมินเพื่อตัดสินผล การเรียน (Summative Assessment) หน่วยที่ 1 หน่วยที่.... หน่วยที่... สอบกลางภาค/ปีการศึกษา สอบปลายภาค/ปีการศึกษา
การประเมินความสามารถด้าน LNR ของผู้เรียน การประเมินนอกเหนือจากกิจกรรมเรียนรู้ในหลักสูตร ประเมินจากตัวชี้วัดของความสามารถด้าน LNR (Free Content based Assessment) ตัวชี้วัดที่ 1 Literacy ตัวชี้วัดที่ 2 ตัวชี้วัดที่ .... เนื้อหาทั่วไป
คุณลักษณะของผู้เขียนข้อสอบที่ดี ผู้เขียนข้อสอบต้องมีความรู้ในเนื้อหาที่มุ่งวัดเป็นอย่างดี ผู้เขียนข้อสอบจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับตัวชี้วัด/พฤติกรรมการเรียนรู้ ผู้เขียนข้อสอบต้องมีความเข้าใจกลุ่มเป้าหมายของการวัด ผู้เขียนข้อสอบต้องมีความสามารถในการใช้ภาษาในการสื่อความหมาย ผู้เขียนข้อสอบจะต้องมีทักษะในสามารถใช้เทคโนโลยีสำหรับการเขียนข้อสอบ ผู้เขียนต้องสร้างข้อสอบที่ดีต้องมีความละเอียดรอบคอบและถูกต้อง