การออกแบบ การประเมินโครงการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

แนวทางการบริหารงบประมาณ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
แบบสอบถาม (Questionnaire)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การวัด Measurement.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือการวิจัย
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบ การประเมินโครงการ ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กระบวนการในการออกแบบการ ประเมิน หัวข้อการนำเสนอ เกณฑ์ในการพิจารณา กระบวนการในการออกแบบการ ประเมิน

เกณฑ์ที่ควรพิจารณา ในการออกแบบการประเมิน ความตรงภายใน (Internal Validity) ความตรงภายนอก (External Validity) ความเป็นไปได้ในการประเมิน

ความตรงภายใน (Internal Validity) ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของ ตัวแปรตามเป็นผลมาจากตัวแปรอิสระที่ ทำการศึกษา การเปลี่ยนแปลงหรือผลที่เกิดขึ้นจาก โครงการเป็นผลมาจากองค์กรและการดำเนิน โครงการที่ต้องการประเมิน

ผู้ประเมิน ต้อง ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน วิเคราะห์ข้อมูลอย่างถูกต้อง แปลความหมายข้อมูลอย่างถูกต้อง สรุปผลที่ได้อย่างถูกต้อง

ความตรงภายนอก (External Validity) การที่ผู้ประเมินสรุปผลการประเมินไปยัง กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง และครอบคลุม พื้นที่เป้าหมายของโครงการได้

ความเป็นไปได้ในการประเมิน เวลา งบประมาณ กำลังคน

กระบวนการในการออกแบบ การกำหนดประเด็นปัญหาการประเมิน การเลือกใช้รูปแบบการประเมิน การกำหนดวิธีการประเมิน - การพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์ - การสุ่มตัวอย่าง - การกำหนดแหล่งข้อมูลและการเลือกใช้เครื่องมือ - การวิเคราะห์ข้อมูล

1. การกำหนดประเด็นปัญหาในการประเมิน เป็นข้อสงสัยของผู้ใช้ผลการประเมิน มี 4 วิธี คือ - พิจารณาจากวัตถุประสงค์ของโครงการ - พิจารณาจากความต้องการของผู้ใช้ผลการประเมิน ได้แก่ ผู้ให้ทุน ผู้มีหน้าที่จัดทำนโยบาย ผู้บริหาร ระดับต่าง ๆ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

1. การกำหนดประเด็นปัญหาในการประเมิน - พิจารณาจากประสบการณ์ของผู้ประเมิน - พิจารณาโดยอาศัยโมเดลหรือแบบจำลอง

2. การเลือกใช้รูปแบบการประเมิน ชนิดของการประเมิน เช่น - ประเมินความต้องการจำเป็น - ประเมินความเป็นไปได้ - ประเมินระหว่างการดำเนินโครงการ - ประเมินภายหลังสิ้นสุดโครงการ รูปแบบของการประเมิน เช่น CIPP

3. การกำหนดวิธีการประเมิน การกำหนดตัวชี้วัด และเกณฑ์ เช่น “การกินดีอยู่ดีของชาวชนบท” ตัวชี้วัด คือ รายได้ รายจ่าย สิ่งอำนวยความสะดวก สุขอนามัย ฯลฯ

เกณฑ์ มี 2 ลักษณะ คือ - มาตรฐานสากล เกณฑ์ มี 2 ลักษณะ คือ 1. เกณฑ์สัมบูรณ์ หรือ มาตรฐาน (Absolute Criteria) - มาตรฐานสากล - ผู้เชี่ยวชาญ - การคาดหวังจากเหตุการณ์ที่ผ่านมา - เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มในแต่ละช่วงเวลา - การใช้เกณฑ์ปกติวิสัย (norms) - ลักษณะการบรรยายแผนงานของผู้ประเมิน(EPD)

เทียบเคียงจาก 2. เกณฑ์สัมพัทธ์ (Relative Criteria) - โครงการที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน - โครงการที่ประสบความสำเร็จ - โครงการที่เป็นที่ยอมรับว่ามีคุณภาพเหมาะสม

การสุ่มตัวอย่าง อาศัยหลักความน่าจะเป็น สุ่มอย่างง่าย (simple random sampling) สุ่มแบบมีระบบ (systematic sampling) สุ่มแบบชั้นภูมิ/แบ่งชั้น (stratified sampling) สุ่มแบบกลุ่ม (cluster sampling) สุ่มแบบหลายขั้นตอน (multi-stage sampling)

การสุ่มตัวอย่าง ไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็น เลือกแบบเจาะจง (purposive selection) เลือกแบบบังเอิญ (accidental selection) เลือกแบบโควต้า (quota selection) เลือกแบบลูกโซ่/ก้อนหิมะ (chain/snowball selection)

การกำหนดแหล่งข้อมูลและ การเลือกใช้เครื่องมือ ประเภทของเครื่องมือ ลักษณะและการพัฒนาเครื่องมือ แต่ละประเภท การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ

ประเภทของเครื่องมือ จำแนกว่าเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ ด้านใด พิจารณาจากตัวแปรที่ต้องการวัด จำแนกว่าเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ ด้านใด

พฤติกรรมการเรียนรู้ พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย (COGNITIVE DOMAIN (AFFECTIV E DOMAIN ทักษะพิสัย (PSYCHOMOTOR DOMAIN

พุทธิพิสัย (COGNITIVE DOMAIN) วัดความรู้ ความคิด การทดสอบ – แบบสอบ (TEST)

จิตพิสัย (AFFECTIVE DOMAIN) วัดความรู้สึกนึกคิด จิตใจ การสอบถาม - แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ - แบบสัมภาษณ์ การสังเกต - แบบสังเกต การสนทนากลุ่ม - แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม

ทักษะพิสัย (PSYCHOMOTOR DOMAIN) วัดพฤติกรรมการปฏิบัติ การ แสดงออก การสังเกต - แบบสังเกต

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม

ลักษณะ และ การพัฒนาเครื่องมือ แต่ละประเภท

แบบสอบ (TEST) วัดความรู้ความสามารถที่มี ให้แสดงความสามารถสูงสุด (MAXIMUM PERFORMANCE) ตัดสินได้ว่า ถูก หรือ ผิด ตามหลัก วิชา

ประเภทของแบบสอบ ขึ้นอยู่กับ ตัวแปรที่สนใจศึกษา เช่น แบบวัดผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาไทย แบบวัดความรับผิดชอบ แบบวัดความมีจิตอาสา แบบวัดความมีน้ำใจเป็นนักกีฬา แบบวัดความถนัด แบบวัดบุคลิกภาพ ฯลฯ

การสร้างแบบสอบ ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการวัด มีโครงสร้างของเนื้อหาที่ชัดเจน มีการเลือกใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เหมาะสม กับตัวแปรที่ต้องการวัด เช่น วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วัดได้ตาม ระดับพฤติกรรมของบลูม

การสร้างแบบสอบ มีการเลือกใช้รูปแบบของแบบสอบที่ เหมาะสมกับระดับพฤติกรรมที่ต้องการวัด เช่น แบบถูกผิด แบบจับคู่ แบบเติมคำ แบบเลือกตอบ แบบอัตนัย ฯลฯ

แบบสอบถาม การกำหนดเงื่อนไข/สถานการณ์ให้แสดง คุณลักษณะเฉพาะตัวของตนออกมา (TYPICAL PERFORMANCE) โดยไม่มีการตัดสินว่าถูก/ผิด มีลักษณะเป็น - คำถามปลายปิด - คำถามปลายเปิด

หลักการสร้างแบบสอบถาม ง่าย ชัดเจน กระชับ มีคำชี้แจงที่ชัดเจน คำนึงถึงความรู้ วัย และประสบการณ์ของผู้ตอบ เรียงลำดับข้อคำถามอย่างเหมาะสม ง่าย ยาก ทั่วไป เจาะจง จำนวนข้อคำถามไม่มากเกินไป

แบบสัมภาษณ์ เป็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ เน้นการศึกษาข้อมูลที่ลึกซึ้ง มี 2 ลักษณะ คือ - แบบมีโครงสร้าง - แบบไม่มีโครงสร้าง

หลักการสัมภาษณ์ 1. กำหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน 2. เตรียมหัวข้อให้ครอบคลุม ครบถ้วน 3. สร้างความคุ้นเคยกับผู้ถูกสัมภาษณ์ 4. ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับวัย อายุ ประสบการณ์ 5. มีการจดบันทึกการสัมภาษณ์/บันทึกเทป

6. หลีกเลี่ยงคำถามที่สร้างความไม่พอใจให้กับ ผู้ถูกสัมภาษณ์ 7. ใช้เวลาให้เหมาะสม ไม่ควรนานเกินไป 8. “ความสำเร็จของการสัมภาษณ์” อยู่ที่ - คำถามที่ใช้ว่าเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการมาก น้อยเพียงใด - ผู้ถูกสัมภาษณ์ตอบตามความจริงมาก น้อยเพียงใด

ข้อดีของการสัมภาษณ์ ถามในเรื่องที่เข้าใจไม่ตรงกัน ใช้ได้กับทุกคน ได้ข้อมูลที่ลึกซึ้ง

ข้อจำกัดของการสัมภาษณ์ สิ้นเปลือง เวลา แรงงาน ค่าใช้จ่าย ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ และความสามารถ ของผู้สัมภาษณ์ อาจเกิดความลำเอียงจากผู้สัมภาษณ์ การควบคุมมาตรฐานแต่ละครั้งทำได้ยาก

การสังเกต การเฝ้าดู / ศึกษาเหตุการณ์ / เรื่องราว โดยละเอียด โดยต้องระบุ วัตถุประสงค์ ผู้สังเกต สิ่งที่สังเกต สภาพการณ์ที่สังเกต มีการจดบันทึก มีการเอาใจใส่ และกำหนดไว้อย่างมีระเบียบวิธี เพื่อ วิเคราะห์/หาความสัมพันธ์ของสิ่งที่เกิดขึ้นกับสิ่งอื่น เป็นข้อมูลปฐมภูมิ (primary data)

ประเภทของการสังเกต สังเกตกายภาพภายนอก - สัญลักษณ์ รูปลักษณ์ DENZIN (1971) แบ่งเป็น 5 ประเภท สังเกตกายภาพภายนอก - สัญลักษณ์ รูปลักษณ์ - เครื่องแบบ เครื่องหมาย เครื่องประดับ สีสัน สังเกตการแสดงออก - กริยาท่าทาง ภาษาท่าทาง - การเคลื่อนไหวของร่างกาย แขนขา - ความสอดคล้อง/ขัดแย้งระหว่างคำพูดกับการแสดงออก

สังเกตตำแหน่งแหล่งที่ทางกาย - ระยะห่างระหว่างบุคคลทางกายภาพ - ตำแหน่งการนั่ง สังเกตการใช้ภาษา - คำพูด วิธีการพูด เวลาพูด สังเกตบริบท เวลา และการใช้เวลา - แตกต่างกันตามหน้าที่ อาชีพ ของกลุ่มคน

การสนทนากลุ่ม เป็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกัน และกัน เป็นการสนทนาระหว่างนักวิจัยกับกลุ่มคนที่ เป็นผู้รู้ (key informant) ที่มีลักษณะต่าง ๆ ใกล้เคียงกันมากที่สุด (homogenious)

การสนทนากลุ่ม ผู้ร่วมสนทนาประมาณ 7-8 คน มีสมมติฐานว่า เราจะรู้ถึงปฏิกิริยาโต้ตอบของ คนได้อย่างละเอียดลึกซึ้ง โดยการกระตุ้นให้คน มาสนใจในสิ่งเดียวกันและแสดงความคิดเห็น ร่วมกัน

หลักการสนทนากลุ่ม ผู้วิจัยเป็นผู้ดำเนินการสนทนากลุ่มด้วยตนเอง ลักษณะประเด็นที่นำมาสนทนาเหมาะสมกับการ แสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย มีการสร้างคำถามให้น่าสนใจ มีการสร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง ไม่มีการลงมติการสนทนากลุ่ม แต่เป็นการสรุป ความคิดเห็นโดยภาพรวม

การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือ

การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ความตรง (VALIDITY) - ความสามารถของเครื่องมือที่วัดได้ในสิ่งที่ต้องการวัด ความเที่ยง (RELIABILITY) - ความคงที่คงเส้นคงวาของผลที่ได้จากการวัดด้วยเครื่องมือ ความเป็นปรนัย (OBJECTIVITY) - อ่านแล้วเข้าใจตรงกัน - ให้คะแนนตรงกัน - แปลความหมายของคะแนนตรงกัน

ความตรง (VALIDITY) ตามเนื้อหา (CONTENT VALIDITY) ตามโครงสร้าง (CONSTRUCT VALIDITY) ตามเกณฑ์สัมพันธ์ (CRITERION-RELATED VALIDITY) - ร่วมสมัย/ตามสภาพ (CONCURRENT VALIDITY) - เชิงทำนาย/พยากรณ์ (PREDICTIVE VALIDITY)

1. ความตรงตามเนื้อหา (CONTENT VALIDITY) ความสามารถของเครื่องมือที่วัดได้ตาม เนื้อหาที่ต้องการวัด เป็นการพิจารณาว่า ข้อคำถามแต่ละข้อมี เนื้อหาเป็นตัวแทน และครอบคลุมเนื้อหา ที่ต้องการวัดหรือไม่

1. ความตรงตามเนื้อหา (CONTENT VALIDITY) วิธีการที่ใช้ 1.1 ให้ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิตัดสิน ขั้นตอน 1) สร้างตารางวิเคราะห์เนื้อหา 2) สร้างข้อคำถามให้สอดคล้องกับตารางวิเคราะห์ 3) ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาความเหมาะสมของข้อคำถาม โดยพิจารณา ดังนี้

+1 หมายถึง ข้อคำถามมีความเหมาะสม 0 หมายถึง ไม่แน่ใจ -1 หมายถึง ข้อคำถามไม่มีความเหมาะสม

4) นำคะแนนที่ได้มาคำนวณค่าความสอดคล้องระหว่างข้อ คำถามกับเนื้อหา/วัตถุประสงค์ (Item-objective Congruency Index : IOC) IOC = R/N IOC คือ ดัชนีความสอดคล้อง R คือ ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ N คือ จำนวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด

เกณฑ์การพิจารณาค่า IOC แสดงว่า ข้อคำถามวัดได้จริง คือมีความตรง ตามเนื้อหา IOC น้อยกว่า 0.5 แสดงว่า ข้อคำถามไม่ได้วัดตามเนื้อหาที่ ต้องการ คือไม่มีความตรงตามเนื้อหา

วัดเนื้อหาเดียวกัน (ส่วนมากใช้แบบสอบ มาตรฐานที่มีอยู่แล้ว) 1.2 หาความสัมพันธ์กับแบบสอบฉบับอื่นที่มี/ วัดเนื้อหาเดียวกัน (ส่วนมากใช้แบบสอบ มาตรฐานที่มีอยู่แล้ว) ใช้วิธีการหาค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

2. ความตรงตามโครงสร้าง (CONSTRUCT VALIDITY) ความสามารถของเครื่องมือที่วัดได้ตาม โครงสร้าง/องค์ประกอบของสิ่งนั้น ได้แก่ แบบวัดทางจิตวิทยา เจตคติ ความถนัด

วิธีการที่ใช้ในการหาความตรงตามโครงสร้าง ให้ผู้เชี่ยวชาญตัดสิน หาค่า IOC เหมือนความตรงตามเนื้อหา วิเคราะห์องค์ประกอบ (FACTOR ANALYSIS) เปรียบเทียบกับกลุ่มที่มีคุณลักษณะนั้น ๆ อย่างเด่นชัด (KNOWN- GROUP TECHNIQUE) โดยใช้ t-test ทดสอบความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ย 2 กลุ่มคือกลุ่มปกติกับกลุ่มที่มีคุณลักษณะเด่นชัด ถ้าพบความแตกต่าง แสดงว่า เครื่องมือมีความตรงตามโครงสร้าง

3. ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (CRITERION-RELATED VALIDITY) 3.1 ความตรงตามสภาพ (CONCURRENT VALIDITY) -ความสามารถของเครื่องมือที่วัดได้สอดคล้องกับสภาพใน ปัจจุบัน เช่น คะแนนผลสัมฤทธิ์กับคะแนน ความตั้งใจเรียน 3.2 ความตรงตามพยากรณ์ (PREDICTIVE VALIDITY) -ความสามารถของเครื่องมือที่วัดได้สอดคล้องกับสภาพใน อนาคต เช่น คะแนนวัดแววความเป็นครูกับ GPA 4ปี ของนิสิตครุศาสตร์

ค่าสถิติที่ใช้ -ค่าความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2 ชุด ถ้าข้อมูลเป็นคะแนน ใช้ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ถ้าข้อมูลเป็นลำดับที่ ใช้ สหสัมพันธ์แบบจัดลำดับ (SPEARMAN RANK ORDER)

ความเที่ยง (RELIABILITY) วิธีการหาความเที่ยง การวัดความคงที่ (MEASURES OF STABILITY) ใช้วิธีการสอบซ้ำ โดยใช้แบบสอบซ้ำ (TEST-RETEST) ข้อสอบ 1 ชุด วัด 2 ครั้ง หาสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวัดความเท่าเทียมกัน (MEASURES OF EQUIVALENT) ใช้วิธีการสร้างแบบสอบคู่ขนาน (PARALLEL TEST) คือ สร้างข้อสอบ 2 ฉบับที่มีค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนเท่ากัน ข้อสอบ 2 ชุด วัด 2 ครั้ง หาสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

การวัดความคงที่ภายใน (MEASURES OF INTERNAL CONSISTENCY) ข้อสอบ 1 ชุด วัด 1 ครั้ง มี 3 วิธี คือ 1. แบ่งครึ่งข้อสอบ (split half) โดยอาจแบ่งเป็นข้อคู่-ข้อคี่ ครึ่งแรก-ครึ่งหลัง แล้วคำนวณหาค่าความสัมพันธ์ของ 2 ส่วน และ คำนวณสูตรปรับขยายให้เต็มฉบับ

2. คูเดอร์-ริชาร์ดสัน (KR 20 , KR 21) ใช้กับแบบวัดที่ให้คะแนนแบบ dichotomous คือ ถูก1 ผิด0 KR 20 ใช้ในกรณีข้อสอบมีความยากง่ายไม่ใกล้เคียงกัน ใช้ค่าความยากของทุกข้อมาคำนวณ KR 21 ใช้ในกรณีข้อสอบที่มีความยากง่ายใกล้เคียงกัน ใช้ค่าเฉลี่ยในการคำนวณ 3. สัมประสิทธิ์อัลฟา ใช้กับแบบวัดทุกประเภท ทั้ง dichotomous (ถูก1ผิด0) และ polytomous (อัตนัย rating scale)

ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ ศึกษาทฤษฎี งานวิจัย แนวคิด ในเรื่อง - ความหมาย องค์ประกอบของตัวแปร -ประเภทของเครื่องมือ -วิธีการสร้าง -การใช้ -การตรวจสอบคุณภาพ กำหนดนิยามเชิงทฤษฎี และนิยามเชิงปฏิบัติการ

กำหนดประเภทของเครื่องมือ และรายละเอียด สร้างเครื่องมือ ตรวจสอบความตรง (เชิงเนื้อหา,เชิงโครงสร้าง) โดยผู้เชี่ยวชาญ ปรับปรุงแก้ไข ทดลองใช้ (TRY OUT) มี 2 ครั้ง 1. ตรวจสอบความเข้าใจภาษา และข้อคิดเห็น เกี่ยวกับคำถามที่ใช้ (n ประมาณ 2-3 คน)

-ความเที่ยงแบบสอบซ้ำ (n มากกว่าหรือเท่ากับ 30) 2. หาคุณภาพของเครื่องมือ ซึ่งอาจเป็น -ความเที่ยงแบบสอบซ้ำ (n มากกว่าหรือเท่ากับ 30) -ความเที่ยงแบบวัดความคงที่ภายใน (n มากกว่า หรือเท่ากับ 30) -ความเที่ยงระหว่างผู้ประเมิน (Inter-rater reliablity) ปรับปรุงเครื่องมือ นำไปใช้จริง วิเคราะห์ และแปลผล

การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้ สถิติบรรยาย (descriptive statistics) - การแจกแจงความถี่ - การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง - การวัดการกระจาย - การวัดความสัมพันธ์

การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติอนุมาน (inferential statistics) - การแจกแจงความถี่ - การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง - การวัดการกระจาย - การวัดความสัมพันธ์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้ การวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)

ตัวอย่างการออกแบบการประเมิน โครงการ “การจัดหาอาหารเสริม(นม)ให้แก่เด็กเล็ก ในจังหวัด ก.” วัตถุประสงค์คือ จัดหาอาหารเสริม(นม)ให้แก่เด็กเล็กในจังหวัด ก. พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัด ก.ให้มีสุขภาพสมบูรณ์

ประเด็นของการประเมิน 1. การจัดหาอาหารเสริม(นม)ให้แก่เด็กเล็กในจังหวัด ก. 2. การพัฒนาเด็กเล็กในจังหวัด ก.ให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์ 3. ความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน 4. ความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่โครงการ

วัตถุประสงค์ของการประเมิน 1. เพื่อประเมินความเพียงพอและทั่วถึงของการจัดหา อาหารเสริม(นม)ให้แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ จังหวัด ก. 2. เพื่อประเมินผลการพัฒนาเด็กเล็กในจังหวัด ก. 3. เพื่อประเมินความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่และประชาชน ในโครงการ

ตัวอย่างตารางการออกแบบการประเมิน ประเด็น ตัวชี้วัด ข้อมูลที่ ต้องการ เครื่องมือ การเก็บ ข้อมูล การ วิเคราะห์ ข้อมูล เกณฑ์ จัดหา อาหาร เสริม (นม) ให้แก่ เด็กเล็ก ของ จังหวัด ก 1. สัดส่วน ศูนย์ที่ ได้รับ อาหาร เสริมจาก ทั้งหมด 40 ศูนย์ 1. จำนวน ศูนย์ที่ ได้รับ อาหาร เสริม 1.แบบ รายงาน ผลการ ปฏิบัติ งาน 1.เก็บ ข้อมูล ทุก สัปดาห์ 1.คำนวณ สัดส่วนที่ ได้รับจาก จำนวน ทั้งหมด 1.ไม่ ต่ำกว่า ร้อยละ 90

ตัวอย่างตารางการออกแบบการประเมิน ประเด็น ตัวชี้วัด ข้อมูลที่ ต้องการ เครื่องมือ การเก็บ ข้อมูล การ วิเคราะห์ ข้อมูล เกณฑ์ จัดหา อาหาร เสริม (นม) ให้แก่ เด็กเล็ก ของ จังหวัด ก 2. สัดส่วน เด็กที่ ได้รับ อาหาร เสริมจาก เด็ก ทั้งหมด 1,750 คน 2. จำนวน เด็กที่ ได้รับ อาหาร เสริม 2.แบบ รายงาน ผลการ ปฏิบัติ งาน 2.เก็บ ข้อมูล ทุก สัปดาห์ 2.คำนวณ สัดส่วนที่ ได้รับจาก จำนวน ทั้งหมด 2.ไม่ ต่ำกว่า ร้อยละ 90

คำถาม & คำตอบ