(ศปท.) ในฐานะกลไกการขับเคลื่อน ศอตช.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
“คลายทุกข์ สุขใจ ใกล้ประชาชน”
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ป.ย.ป. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง เป็นส่วนที่ตั้งขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
หลักสูตรเสริมสร้างเกียรติภูมิข้าราชการ : สำนึกข้าราชการไทยไม่โกง
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
จังหวัดสมุทรปราการ.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(ศปท.) ในฐานะกลไกการขับเคลื่อน ศอตช. แนวทางการดำเนินงานของ (ศปท.) ในฐานะกลไกการขับเคลื่อน ศอตช. ศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (ศอตช.) สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงาน ป.ป.ท.)

ประวัติวิทยากร นางฉวีวรรณ นิลวงศ์ การศึกษา ปริญญาโท สาขานโยบายและการวางแผน จากมหาวิทยาลัย เกริก ปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง วุฒิบัตร จากมหาวิทยาลัยมิสซูรี่ ณ เมืองโคลัมเบีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้รับทุนจาก กรมการพัฒนาชุมชน ตามโครงการ Leadership Exchange Program ประวัติการทำงาน ๑. ส่วนท้องถิ่น เคยดำรงตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ๗ แห่ง ได้แก่ ( เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาลเมืองระนอง เทศบาลเมืองสระบุรี และ เทศบาลนครรังสิต ) ๒. ส่วนภูมิภาค เคยดำรงตำแหน่ง เจ้าพนักงานปกครอง ( ปลัดอำเภอ ) อำเภอสังคม จังหวัดหนองคาย ๓. ส่วนกลาง กรมการปกครอง กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ  ปัจจุบัน ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงาน ป.ป.ท.

บทบาทหน้าที่ของสำนักงาน ป.ป.ท. นายกรัฐมนตรี/คตช./ศอตช. คณะกรรมการ ป.ป.ท. สำนักงาน ป.ป.ท. ขับเคลื่อนนโยบาย/ข้อสั่งการ การปราบปรามการทุจริต

การขับเคลื่อนธรรมาภิบาลในส่วนราชการ/หน่วยงานของรัฐ ส่วนราชการ/หน่วยงานภาครัฐแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ภาคประชาสังคม (การแจ้งข้อมูลข่าวสาร) ปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชน กรณีหัวหน้าส่วนราชการแก้ไขปัญหาแล้ว : สั่งยุติเรื่อง หนังสือร้องเรียน ศปท. รับเรื่อง / ส่งต่อ /ตรวจสอบ / ติดตาม /รายงานผล กรณีหัวหน้าส่วนราชการละเลย ละเว้น : ป.ป.ท. ตรวจสอบซ้ำ และทำความเห็นเสนอ ครม./คตช. ศอตช. (ป.ป.ท.) ศอตช. (ป.ป.ท.) กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ กรณีพบมูลความผิดทางอาญา : ส่ง ป.ป.ช. / ป.ป.ท. ดำเนินการตามกฎหมาย ภาคีเครือข่าย (เฝ้าระวังการทุจริต) ปัญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบ ส่วนราชการ/หน่วยงานของรัฐดำเนินมาตรการทางบริหาร/วินัย/ส่งคดีอาญา

ความเป็นมา ศปท. ๓๕ หน่วยงาน มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เห็นชอบในหลักการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ตามที่สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) คณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๙ เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๘ รับทราบผลการดำเนินงานและเห็นชอบในหลักการตามรายงานและข้อเสนอของคณะอนุกรรมการด้านการป้องกันการทุจริต ใน คตช. ให้เสริมสร้างความเข้มแข็งของศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ประจำกระทรวง

มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙ เห็นชอบมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการของศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.) ตามที่ ศอตช. เสนอ ดังนี้ - ให้ อ.ก.พ.กระทรวง ปรับเกลี่ยอัตรากำลังและกำหนดตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานของ ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตในสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และสำนักงานปลัดกระทรวง ทุกกระทรวง เว้นแต่สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ให้สอดคล้องกับภารกิจ โดยอย่างน้อยต้องมีผู้ปฏิบัติหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) รองหัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต เป็นข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษหรือระดับเชี่ยวชาญ โดยมีอำนาจหน้าที่ตามที่หัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตกำหนดหรือมอบหมาย (๒) หัวหน้ากลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบและหัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม เป็นข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการหรือระดับชำนาญการพิเศษ ทำหน้าที่รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบหรือการส่งเสริมและคุ้มครองจริยธรรม แล้วแต่กรณี ตามที่หัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตมอบหมาย

มติ คตช.ครั้งที่ ๔/๒๕๕๙ วันที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๙ เห็นควรเพิ่มอำนาจหน้าที่ของ ศปท.กระทรวงดังนี้ เป็นศูนย์กลางในการประสานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตภายในกระทรวง ให้ ศปท.กระทรวงทำหน้าที่ประสานงาน เร่งรัด กำกับและติดตาม ให้รัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชนในกำกับ ของกระทรวง ดำเนินการขับเคลื่อนภารกิจตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ รวมทั้งติดตามประเมินผลการดำเนินงานเช่นเดียวกับส่วนราชการในระดับกรม ให้ ศปท.กระทรวง ทำหน้าที่ตรวจสอบเปรียบเทียบผลการดำเนินการทางปกครอง วินัยของหน่วยงานในสังกัด และให้เสนอความเห็นต่อปลัดกระทรวงหรือรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี แล้วแจ้งให้ ศอตช.ทราบ

บทบาทของ ศปท.กับการเป็นกลไก ศอตช. บทบาทของ ศปท.กับการเป็นกลไก ศอตช.

คณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ

ศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ

โครงสร้างและกลไกการแก้ไขปัญหาการทุจริตของประเทศ ศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริต (ศอตช.) รมว.ยุติธรรม /ประธาน กรม องค์การมหาชน/ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น จังหวัด สำนักงาน ป.ป.ท./ เลขานุการ ศอตช. คณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (คตช.) หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ /ประธาน ศูนย์ดำรงธรรม กลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ คณะรัฐมนตรี (ครม.) ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ศปท. (กระทรวง) กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม ระดับนโยบาย ประสานการขับเคลื่อนระดับชาติ ประสานขับเคลื่อนระดับกระทรวง ประชาชน/ผู้ร้องเรียน

อำนาจหน้าที่ของ ศปท. งานด้านป้องกันการทุจริต งานด้านปราบปรามการทุจริต งานด้านส่งเสริมคุ้มครองจริยธรรม

ด้านป้องกันและปราบปรามการทุจริต ศึกษา วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลสภาพปัญหา เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะมาตรการ แนวทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของส่วนราชการเสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการ จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของส่วนราชการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ตลอดจนบูรณาการแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของส่วนราชการ และส่วนราชการในสังกัด ให้คำปรึกษาแนะนำ ประสานงาน เร่งรัด กำกับและติดตามให้ส่วนราชการในสังกัดดำเนินการขับเคลื่อนภารกิจตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ รับข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ ส่วนราชการในสังกัด และส่งต่อไปยังส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงประสาน ติดตามอย่างต่อเนื่องจนได้ข้อยุติ เป็นกลไกการปฏิบัติหรือประสานการปฏิบัติงานร่วมกับศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (ศอตช.) สำนักงาน ป.ป.ท. สำนักงาน ป.ป.ช. หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ตามที่ ศอตช. สั่งการหรือร้องขอ เป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบใน ส่วนราชการ ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในส่วนราชการ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานของส่วนราชการและส่วนราชการในสังกัด และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาพรวมของส่วนราชการส่งสำนักงาน ป.ป.ท. สำนักงาน ป.ป.ช. สำนักงาน ก.พ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ด้านส่งเสริมคุ้มครองจริยธรรม คุ้มครองจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการจริยธรรมประจำส่วนราชการระดับกระทรวง หรือระดับกรม ประสานการดำเนินงานเกี่ยวกับจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนงาน/โครงการ ตลอดจนบูรณาการแผนงาน/โครงการเกี่ยวกับการคุ้มครองจริยธรรม การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาข้าราชการของส่วนราชการและส่วนราชการในสังกัด ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวบรวมปัญหาการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของส่วนราชการและส่วนราชการในสังกัด ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงประมวลจริยธรรมต่อสำนักงาน ก.พ. ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จรรยาข้าราชการ การดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการของส่วนราชการและส่วนราชการในสังกัดเสนอหัวหน้าส่วนราชการ และส่งผลการดำเนินการให้กลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ จัดทำรายงานผลการดำเนินงานการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาพรวมของส่วนราชการ

กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ งานด้านการป้องกัน กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ - ทบทวนสถานการณ์การทุจริต / เรื่องร้องเรียน / ข้อรายงาน สตง. / ป.ป.ช./ป.ป.ท. - วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค ผลการดำเนินงานตามแผนปีที่ผ่านมา - วิเคราะห์ความเสี่ยง หรือโอกาสที่จะเกิดการทุจริต / ผลประโยชน์ทับซ้อน - การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ฯลฯ แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ศปท. ระยะ ๕ ปี ศปท.๓๕ หน่วย ส่งให้สำนักงาน ป.ป.ท. ภายในไตรมาส แรกของปีงบปประมาณ เผยแพร่บน Website แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะ ๕ ปี ของส่วนราชการ/หน่วยงานของรัฐในสังกัด S W O T - ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี - นโยบายรัฐบาล / คสช. / คตช. / ศอตช. / คำสั่ง คสช.ที่ ๖๙/๒๕๕๗ - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต - นโยบายของผู้บริหาร ฯลฯ เผยแพร่บน Website แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะ ๑ ปี และงบประมาณแบบบูรณาการของส่วนราชการ / หน่วยงานในสังกัด บันทึกในระบบฐานข้อมูลของสำนักงาน ป.ป.ช. (ตามระยะเวลาที่ สำนักงานป.ป.ช.กำหนด) ศอตช. / คตช. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สำนักงาน ป.ป.ช. / สำนักงาน ก.พ.ร. / สำนักงาน ก.พ.) เผยแพร่บน Website ศปท. รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณในภาพรวมของส่วนราชการ / หน่วยงานของรัฐในสังกัด ส่งให้สำนักงาน ป.ป.ท. ภายในไตรมาสแรกของปีงบประมาณถัดไป สำนักงาน ป.ป.ท. ประมวล/วิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามแผนฯ ของ ศปท. ทั้ง ๓๕ หน่วยงาน

งานคุ้มครองจริยธรรมภายใต้ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระบวนการดำเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ศึกษาวิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลและจัดทำข้อเสนอแนวทาง วางมาตรการและจัดทำแผนดำเนินการในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการเสริมสร้างวินัยข้าราชการ ให้คำปรึกษา แนะนำ ประสานการดำเนินการเกี่ยวกับการขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการเสริมสร้าง วินัยข้าราชการ ผลักดัน และประสานให้ส่วนราชการ และส่วนราชการในสังกัดทบทวนและจัดทำข้อบังคับจรรยาข้าราชการ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและการเสริมสร้างวินัยข้าราชการ ประมวลข้อมูลสภาพปัญหาการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของกระทรวงตลอดจนเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงประมวลจริยธรรมฯ ต่อสำนักงาน ก.พ. ประสาน และกำกับการขับเคลื่อนตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการเสริมสร้างวินัยข้าราชการในส่วนราชการ และส่วนราชการในสังกัด จัดทำรายงานการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการเสริมสร้างวินัย ส่งให้กลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ

ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ผู้ร้องเรียน ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ข้อร้องเรียน กลุ่มงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบดำเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม กรณีข้อร้องเรียนจริยธรรมของ ส่วนราชการในสังกัด กลุ่มงานคุ้มครองของกรมดำเนินการสืบสวนข้อเท็จจริงตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ข้อ ๑๗(๒) เพื่อรายงานผลต่อหัวหน้าส่วนราชการ กรณีไม่เห็นพ้องด้วยกับคำวินิจฉัย ยุติเรื่อง สั่งการตามมาตรการทางจริยธรรม ดำเนินการทางวินัย ก.พ. หัวหน้าส่วนราชการพิจารณา กรณีมีปัญหาอันเกิดจาก การบังคับใช้ประมวลจริยธรรมฯ กรณีไม่มีปัญหาอันเกิดจากการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมฯ หรือไม่เข้าข่ายการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรมฯ หรือกรณีการกระทำความผิดทางวินัย คณะกรรมการจริยธรรม พิจารณาวินิจฉัย ดำเนินการตามที่กฎหมายกำหนดสำหรับกรณีนั้น ๆ

การปราบปรามการทุจริต (๑) การกำกับ ติดตามการใช้มาตรการทางการบริหาร(ปกครอง/วินัย) ตามคำสั่ง คณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๖๙/๒๕๕๗ ให้ รายงานทุกวันที่ ๑๐ ของทุกเดือน (ตามแบบ) (๒) การกำกับ ติดตามการดำเนินงาน ตามมาตรา ๕๘/๒ ของพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ ให้รายงานผลการดำเนินการ (เฉพาะกรณีมีการดำเนินการ) ทุกวันที่ ๑๐ ของทุกเดือน (ตามแบบ)

การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ในภาพรวม ศปท. ประมวล / วิเคราะห์ ผลการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดในรอบปีงบประมาณ ของภารกิจงานทั้ง ๓ ด้าน คืองานด้านป้องกันการทุจริต งานด้านส่งเสริมการคุ้มครองจริยธรรม งานด้านปราบปรามการทุจริต สรุปในภาพรวมเป็นผลการดำเนินงานของ ศปท.ในรอบปีงบประมาณ พร้อม ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ให้จัดส่งรายงานดังกล่าวให้กับสำนักงาน ป.ป.ท. ภายในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ ถัดไป โดยสำนักงาน ป.ป.ท.ในฐานะฝ่ายเลขานุการศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริต (ศอตช.) จะเป็นผู้สรุป วิเคราะห์ผลการดำเนินงานของ ศปท. ทั้ง ๓๕ แห่งรายงาน คณะกรรมการค่อต้านการทุจริต และจัดส่งให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( สำนักงาน ป.ป.ช. สำนักงาน ก.พ.ร. และสำนักงาน ก.พ.) ต่อไป

กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ งานด้านการป้องกัน กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ - ทบทวนสถานการณ์การทุจริต / เรื่องร้องเรียน / ข้อรายงาน สตง. / ป.ป.ช./ป.ป.ท. - วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค ผลการดำเนินงานตามแผนปีที่ผ่านมา - วิเคราะห์ความเสี่ยง หรือโอกาสที่จะเกิดการทุจริต / ผลประโยชน์ทับซ้อน - การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ฯลฯ แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ศปท. ระยะ ๕ ปี ศปท.๓๕ หน่วย ส่งให้สำนักงาน ป.ป.ท. ภายในไตรมาส แรกของปีงบปประมาณ เผยแพร่บน Website แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะ ๕ ปี ของส่วนราชการ/หน่วยงานของรัฐในสังกัด S W O T - ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี - นโยบายรัฐบาล / คสช. / คตช. / ศอตช. / คำสั่ง คสช.ที่ ๖๙/๒๕๕๗ - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต - นโยบายของผู้บริหาร ฯลฯ เผยแพร่บน Website แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะ ๑ ปี และงบประมาณแบบบูรณาการของส่วนราชการ / หน่วยงานในสังกัด บันทึกในระบบฐานข้อมูลของสำนักงาน ป.ป.ช. (ตามระยะเวลาที่ สำนักงานป.ป.ช.กำหนด) ศอตช. / คตช. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สำนักงาน ป.ป.ช. / สำนักงาน ก.พ.ร. / สำนักงาน ก.พ.) เผยแพร่บน Website ศปท. รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณในภาพรวมของส่วนราชการ / หน่วยงานของรัฐในสังกัด ส่งให้สำนักงาน ป.ป.ท. ภายในไตรมาสแรกของปีงบประมาณถัดไป สำนักงาน ป.ป.ท. ประมวล/วิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามแผนฯ ของ ศปท. ทั้ง ๓๕ หน่วยงาน

คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีความเห็น กระบวนการกำกับติดตามการใช้มาตรการทางการบริหาร (ปกครอง/วินัย)ตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๖๙/๒๕๕๗ คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีความเห็น ศปท. สรุปรายงานผลการบังคับใช้มาตรการทางการบริหาร (ปกครอง/วินัย) เรื่องร้องเรียนกรณีพบเหตุอันควรสงสัยว่าข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการทุจริต หัวหน้าส่วนราชการ/หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ภายใต้ระเบียบฯ และโดยบังคับใช้มาตรการทางการบริหาร (ปกครอง/วินัย) ศอตช. ศปท. ส่งผลการดำเนินการใช้มาตรการทางการบริหาร (ปกครอง/วินัย) ของส่วนราชการ/หน่วยงาน ของรัฐในสังกัดตามแบบภายในวันที่ ๑๐ ของทุกเดือนตามแบบรายงาน

หัวหน้าส่วนราชการ / หน่วยงานของรัฐ งานด้านการปราบปราม กระบวนการกำกับ ติตามผลการดำเนินงานของส่วนราชการระดับกรม ตามมาตรา ๕๘/๒ ตาม พ.ร.บ. มาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๕๑ และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ การดำเนินงานของของส่วนราชการ/หน่วยงานของรัฐ ที่เป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อน/ ส่อไปในทางทุจริต สำนักงาน ป.ป.ท./ศอตช. หัวหน้าส่วนราชการ / หน่วยงานของรัฐ 1. สั่งการให้มีการตรวจสอบและดำเนินการแก้ไขปัญหา ๒.แจ้งผลการดำเนินการให้สำนักงาน ป.ป.ท. ทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.) ติดตามผลความคืบหน้า รวบรวมผลการดำเนินงานตาม ม. 58/2 ของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ (ภายในวันที่ ๑๐ ของทุกเดือน) สำนักงาน ป.ป.ท. รวบรวมรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรา ๕๘ / ๒ (ถ้ามี)

มาตรา ๕๘/๒ มาตรา ๕๘/๒ ในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นว่า หน่วยงานของรัฐใดมีวิธีปฏิบัติหรือการดำเนินงานที่เป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้ใช้บริการหรือประชาชน และส่อไปในทางทุจริตในภาครัฐหรือเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการอย่างร้ายแรง ให้สำนักงานแจ้งให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐนั้นทราบ เมื่อได้รับแจ้งตามวรรคหนึ่ง หัวหน้าหน่วยงานของรัฐมีหน้าที่ต้องสั่งการให้มีการตรวจสอบและดำเนินการ แล้วแจ้งผลการดำเนินการให้สำนักงานทราบด้วย ในกรณีที่หัวหน้าหน่วยงานของรัฐนั้นจงใจไม่ดำเนินการหรือดำเนินการไม่แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว โดยไม่มีเหตุอันควร ให้คณะกรรมการ ป.ป.ท. รายงานให้คณะรัฐมนตรี และคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบเพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ต่อไป

ช่องทางการติดต่อประสานงาน ๑. ผู้ประสานงาน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงาน ป.ป.ท. ๒. ช่องทางการรายงานผล ศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (ศอตช.) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม (ป.ป.ท.) ๙๙ หมู่ ๔ อาคารซอฟต์แวร์ ปาร์ค ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลคลองเกลือ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๒๐   ๓. เบอร์โทรศัพท์ / โทรสาร โทร ๐๒ ๕๐๒ ๖๖๗๐-๘๐ ต่อ ๑๕๐๐-๑๕๑๕ โทรสาร ๐๒ ๕๐๒ ๖๕๐๖ 4. E-mail E- Mail : monieva.pacc@gmail.com 5. Website www.pacc.go.th เลือก link ศอตช.

ศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (ศอตช.) สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงาน ป.ป.ท.)