บทที่ 7 การจัดการสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่าย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
โดย นางกรุณา อุประดิษฐ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่ ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การสร้างสรรค์งาน โฆษณาในรายวิชาการโฆษณา.
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ผู้วิจัย นายมณัฐ เฮ่ประโคน
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
วิธีสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem-based learning:PBL
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ การเรียนการสอน 5 กับ
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บทที่ 4 ศิลปะและมโนทัศน์การออกแบบ ระบบการสอนบนเครือข่าย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การจัดการสำหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก มคอ.3
บทที่ 5 ภาษาสคริปต์ ที่ใช้สำหรับการผลิตระบบการสอนบนเครือข่าย
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
บทที่ 9 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างโลกเสมือนเพื่อการเรียนรู้ “Opensimulator” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
การนำเสนอผลงานการวิจัย
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ผู้เข้าร่วมอบรมทุกท่าน
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
บทที่ 8 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างระบบการสอนบนเครือข่าย “Moodle” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา pws.npru.ac.th/thepphayaphong.
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การจัดการสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่าย บทที่ 7 การจัดการสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่าย อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา pws.npru.ac.th/thepphayaphong

หัวข้อสำคัญประจำบทที่ 7 หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบเปิด หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอน สตรัคติวิสต์ หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เชิง สถานการณ์

จุดประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม อธิบายหลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบ เปิดได้ อธิบายหลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตาม แนวคอนสตรัคติวิสต์ได้ อธิบายหลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เชิง สถานการณ์ได้

การจัดการสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่าย มีบทบาทสำคัญอย่างมากกับการจัดการเรียนการ สอนอีเลิร์นนิง เป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสานร่วมกัน ระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods) โดยการนำเทคโนโลยีการศึกษาเข้ามาช่วยใน กิจกรรมการเรียนการสอน ช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ด้วย ตนเอง ผู้สอนเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้/สร้าง ความรู้ของผู้เรียนด้วยการนำวิธีการ เทคโนโลยีและ นวัตกรรม/สื่อ มาใช้ร่วมกันเพื่อประสิทธิภาพการ เรียนรู้

แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่าย 1. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบเปิด (Open Learning Environments : OLEs) 2. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอน สตรัคติวิสต์ (Constructivist Learning Environments : CLEs) 3. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เชิง สถานการณ์ (Situated Learning Environments : SLEs)

1. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบเปิด Open Learning Environments : OLEs เน้นการคิดแบบอเนกนัย (Divergent thinking) เป็นความสามารถที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าแล้วแสดงออก ได้หลายวิธีและมีแนวคิดที่หลากหลาย เหมาะกับการเรียนรู้แบบแก้ปัญหา ที่มีโครงสร้าง ซับซ้อน

1. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบเปิด 1. การเข้าสู่บริบท (Enabling_contexts)_:_แนะแนว ผู้เรียน / กำหนดปัญหาหรือสร้างกรอบความต้องการใน การเรียนรู้ ผู้เรียนจะได้รับแนวคิดและบริบท ช่วยกระตุ้น ความรู้เดิม ประสบการณ์ที่มีมาก่อนและทักษะที่เกี่ยวข้อง กับปัญหา 2. แหล่งทรัพยากร (Resources)_:_แหล่งรวมความรู้ที่ จะช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ จัดแหล่งทรัพยากรเป็น Link เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ต่างๆ 3. เครื่องมือ (Tools)_:_ต้องมีเครื่องมือให้ผู้เรียนได้จัด หมวดหมู่ความรู้และสร้างแผนที่ความคิด 4. ฐานการช่วยเหลือ (Scaffolding)_:_มีการให้ความ ช่วยเหลือแบบต่างๆ เพื่ออธิบาย แนะนำวิธีการเรียนรู้ ให้ความหมาย

2. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ Constructivist Learning Environments : CLEs มุ่งส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาและพัฒนา ความคิดรวบยอดที่เกิดจากสถานการณ์ที่มีความ ยุ่งยากซับซ้อน การเรียนรู้เกิดจากปัญหา คำถาม กรณี หรือ โครงงานที่มีความซับซ้อน ปัญหาหรือจุดประสงค์การเรียนรู้เกิดจากตัวผู้เรียนเอง เน้นการพัฒนา การสร้างความรู้แต่ละบุคคลและ ความรู้จากการสร้างความรู้โดยการร่วมมือกัน แก้ปัญหา

2. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 1. คำถาม กรณี ปัญหา หรือโครงงาน : ไม่ได้ระบุ จุดมุ่งหมายที่แน่นอน มีกระบวนการหาคำตอบที่ หลากหลาย 2. จัดให้มีการเข้าถึงประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา : ผู้เรียนสามารถนำมาอ้างอิง เชื่อมโยง นำประสบการณ์ที่ เกี่ยวข้องมาใช้เพื่อค้นหาคำตอบ 3. แหล่งข้อมูล : จัดแหล่งข้อมูลที่สะดวกต่อการสืบค้น เพื่อช่วยสนับสนุนการแก้ปัญหา 4. เครื่องมือสนับสนุนการสร้างความรู้ : มีการนำเสนอ ปัญหาด้วยสถานการณ์จำลอง มีแหล่งความรู้ในรูปแบบ ของฐานข้อมูลความรู้ 5. เครื่องมือในการสนทนาและการร่วมมือกันแก้ปัญหา : Chat, Webboard, Blog, Wiki

3. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เชิงสถานการณ์ Situated Learning Environments : SLEs เป็นการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้เชิง สถานการณ์ สถานการณ์เป็นบริบทตามสภาพจริงในชีวิตประจำวัน

3. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เชิงสถานการณ์ 1. บริบทตามสภาพจริง (Authentic contexts) : ให้บริบท ของสถานการณ์ปัญหาตามสภาพจริงและมีความเกี่ยวข้องและ มีความหมายต่อการเรียนวิชานั้นๆ 2. กิจกรรมการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic activities) : นำเสนอปัญหาที่เป็นจริง เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ไม่มี โครงสร้าง 3. การกระทำอย่างผู้เชี่ยวชาญ (Expert performances) : นำเสนอตัวอย่างการแก้ปัญหาเพื่อเป็นแนวทาง มีการเข้าสู่ เว็บไซต์ของผู้เชี่ยวชาญและแหล่งข้อมูลอื่นๆ 4. มุมมองที่หลากหลาย (Multiple perspectives) : สืบค้น ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ

3. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้เชิงสถานการณ์ 5. การร่วมกันทำงาน (Collaboration) : ส่งเสริมการร่วมกัน แก้ปัญหา เรียนเป็นกลุ่ม 6. การคิดไตร่ตรอง (Reflection) : คำถามต้องมีการอธิบาย เป็นวิธีการหนึ่งที่ให้ผู้เรียนได้เปรียบเทียบวิธีการแก้ปัญหา ของตนกับของผู้เชี่ยวชาญหรือกับเพื่อน 7. การอธิบายความรู้ที่ตนเองสร้างขึ้น (Articulation) : แต่ละ คนในกลุ่มต้องอธิบายความรู้ที่ตนเองสร้างขึ้นออกมาให้ผู้อื่นรู้ ได้ 8. การสอนแนะและการช่วยเหลือ (Coaching and Scaffolding) : ผู้สอนให้การแนะนำและให้ความช่วยเหลือ เท่าที่จำเป็น 9. การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) : ประเมินทั้งกระบวนการเรียนรู้และผลผลิต ประเมินผลงาน ตนเองและโดยกลุ่มเพื่อน

อ้างอิง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. (2550). การออกแบบและ พัฒนา e-Learning. นครราชสีมา : โครงการ SUTe-Training โครงการการศึกษาไร้ พรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี. Hill, C. C. (1998). The effects of situated learning, abstracted instruction, and teaching for transfer on students' use of statistical reasoning to solve real-world problems. (9833202 Ph.D.), University of South Carolina, Ann Arbor. Retrieved from https://search.proquest.com/docview/ 304463319?accountid=15637