แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
Advertisements

อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
สรุปผลการดำเนินงาน PMQA
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
เรื่องน่ารู้ ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
กลุ่มพัฒนาระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
อ่านทั้งหมด Microsoft ข่าวสาร SharePoint
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
การบริหารและขับเคลื่อน
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
การนำเสนอแบบโปสเตอร์
DMA-Monitor ระบบติดตามผลและแจ้งเตือนความผิดปกติ
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
เครือข่ายบริการ สุขภาพ อำเภอแม่ฟ้าหลวง
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561 ดุลยวัฒน์ มาป้อง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการพิเศษ กองแผนงาน กรมอนามัย @ริเวอร์วิวเพลส พระนครศรีอยุธยา : 1 ธันวาคม 2560

PA 2.7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานในระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กองแผนงาน กรมอนามัย Cluster วัยเรียน

คำนิยาม การดำเนินงานที่เป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อติดตามสถานการณ์สุขภาพ โดยการกำหนดและรวบรวมข้อมูลที่สำคัญและนำเอาข้อมูลมาตรวจสอบความถูกต้อง วิเคราะห์และสังเคราะห์เป็นข้อความรู้ที่จะนำไปสู่การปรับปรุงการดำเนินงานทางสาธารณสุข การเฝ้าระวัง ระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (A2IM) ตัวชี้วัดที่ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ จัดลำดับความสำคัญ คัดกรอง คัดเลือก จากสำนัก/ กองวิชาการ 6 cluster คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม และผ่านความเห็นชอบ กพว. กรมอนามัย ตัวชี้วัดการเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

สำนักและกองวิชาการส่วนกลาง กองแผนงาน กรมอนามัย สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เจ้าภาพหลัก หน่วยงานที่รับ การประเมิน สำนักและกองวิชาการส่วนกลาง 10 หน่วยงาน

1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมิน ทบทวน/วิเคราะห์สถานการณ์เฝ้าระวัง ภารกิจหน่วยงานให้สอดคล้องกับกรมและจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเฝ้าระวังฯ 1 ผลการทบทวนวิเคราะห์สถานการณ์เฝ้าระวังฯ คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเฝ้าระวังในหน่วยงาน 1 จัดทำTemplate รายการข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวังฯที่แสดงข้อมูลพื้นฐาน(Baseline data) ย้อนหลังอย่าง 3 ปีขึ้นไป 2 1 มีเอกสารรายละเอียด (Template) รายการข้อมูลตัวชี้วัด จัดทำแผน/ขั้นตอนการดำเนินงาน ในระบบเฝ้าระวัง ที่ครอบคลุมการสำรวจ จัดเก็บ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล มีรายละเอียดระดับกิจกรรม และระยะเวลาเป็นรายเดือน 3 แผนงาน/ขั้นตอนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังฯของหน่วยงาน 1 มีหลักฐานผลงานตามแผนปรับปรุง มีข้อมูลการเฝ้าระวังพร้อมแสดงลิงค์ URL ที่เข้าถึงได้แบบออนไลน์ ดำเนินงานตามแผน และจัดเก็บข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ในเว็บไซต์ของหน่วยงาน และหรือ DOH Dashboard ตามรอบการประเมินผลที่กำหนดไว้ 4 1 จัดทำไฟล์ส่งให้เลขานุการ กพว. ก่อนประชุม 2 วันและรายงานผลตามรอบรายงานที่กองแผนงานกำหนด นำเครื่องมือ A2IM มาใช้ดำเนินงาน จัดทำไฟล์รายงานผลทันตามระยะเวลาที่กำหนด รายงานผลใน กพว. โดยใช้ A2IM 5 1

1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 รอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561–กรกฎาคม 2561) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมิน 1 จัดทำ/ปรับแผนการดำเนินงานการเฝ้าระวังของหน่วยงาน ผลการวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งโอกาสในการพัฒนา และแผนการปรับปรุง/ พัฒนาระบบเฝ้าระวังฯของหน่วยงาน 1 ดำเนินงานตามแผน และจัดเก็บข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ในเว็บไซต์ของหน่วยงาน และหรือ DOH Dashboard ตามรอบการประเมินผลที่กำหนดไว้ 2 มีหลักฐานผลงานตามแผนปรับปรุง มีข้อมูลการเฝ้าระวังพร้อมแสดงลิงค์ URL ที่เข้าถึงได้แบบออนไลน์ 1 จัดทำไฟล์ส่งให้เลขานุการ กพว.ก่อนประชุม 2 วันและรายงานผลตามรอบรายงานที่กองแผนงานกำหนด นำเครื่องมือ A2IM มาใช้ดำเนินงาน จัดทำไฟล์รายงานผลทันตามระยะเวลาที่กำหนด รายงานผลในกพว. โดยใช้ A2IM 3 1 สรุปผลการดำเนินงาน/ถอดบทเรียน เผยแพร่ในระบบ P&E Distributions สรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน พร้อมทั้งเผยแพร่เป็นความรู้ในระบบบริหารจัดการผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (P&E Distributions) 4 1 นำผลการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ไปเผยแพร่ใช้ประโยชน์และขยายผลลงไปสู่ระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ รายงานผลสำเร็จในการเผยแพร่ใช้ประโยชน์ ขยายผลในพื้นที่ 5 1

รอบการรายงานตัวชี้วัดเฝ้าระวัง ปีงบประมาณ 2561 เดือน ตัวชี้วัด หน่วยงาน ต.ค.60 ตัวชี้วัดความถี่การรายงานรอบ 1 ปี ปีงบประมาณ2560 สท/สอล/สอน. พ.ย.60 1.จำนวนมารดาตาย 2.การตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี สส. สอพ. ธ.ค.60 2.ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) กป. ม.ค.61 3.ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว 4.เด็กอายุ 9,18,30,42 ด.ได้รับคัดกรองพัฒนาการและพบล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) 5.เด็กอายุ 9,18,30,42 ด. พบล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ภายใน 30 วัน 6.เด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง 7.เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน /มีภาวะเตี้ย /มีภาวะผอม /มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน 8.ส่วนสูงเฉลี่ยของเด็กอายุ 5 ปี 9.อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี/อายุ 15-19 ปี 10.การตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี สพด. สภ. ก.พ.61 3.ประชากรไทยอายุ 6 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ 4.ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 5.สถานบริการสธ.มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ 6.แหล่งน้ำบริโภคต่างๆที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพน้ำบริโภค กรมอนามัย กก. สอส. สอล. สอน.

รอบการรายงานตัวชี้วัดเฝ้าระวัง ปีงบประมาณ 2561 (ต่อ) เดือน ตัวชี้วัด หน่วยงาน มี.ค.61 1.จำนวนมารดาตาย 2.ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) สส. กป. เม.ย.61 3.นักเรียน ป.1 ได้รับการตรวจวัดสายตา/ตรวจพบสายตาผิดปกติ/ได้รับการแก้ไข 4.เด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน /มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน 5.ส่วนสูงเฉลี่ยของเด็กอายุ 12 ปี 6.วัยรุ่นอายุ 15-18 ปี สูงดีสมส่วน 7.เด็กอายุ 6 - 12 ปี ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง 8.อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี/อายุ 15-19 ปี 9.การตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี สภ. สอพ. พ.ค.61 3.เด็กอายุ 9,18,30,42 ด.ได้รับคัดกรองพัฒนาการและพบล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) 4.เด็กอายุ 9,18,30,42 ด. พบล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ภายใน 30 วัน สพด. มิ.ย.61 3.ผู้สูงอายุที่มีฟันแท้ 20 ซี่และ 4 คู่สบ 4.ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ สท. สอส.

รอบการรายงานตัวชี้วัดเฝ้าระวัง ปีงบประมาณ 2561 (ต่อ) เดือน ตัวชี้วัด หน่วยงาน ก.ค.61 1.จำนวนมารดาตาย 2.ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) 3.เด็กอายุ 12 ปีปราศจากฟันผุ 4.ประชากรไทยอายุ 6 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ 5.สถานบริการสธ. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ 6.แหล่งน้ำบริโภคต่างๆ ที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพน้ำบริโภค กรมอนามัย 7.อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี/อายุ 15-19 ปี 8.การตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี สส. กป. สท. กก. สอล. สอน. สอพ. สอพ. ส.ค.61 2.ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) ก.ย.61

ตัวชี้วัดเฝ้าระวังปี 2560 ตัวชี้วัดเฝ้าระวังปี 2561 (ที่ขอเพิ่มเติม) สรุปตัวชี้วัดเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2561 Cluster ตัวชี้วัดเฝ้าระวังปี 2560 หน่วยงาน เจ้าภาพ ตัวชี้วัดเฝ้าระวังปี 2561 (ที่ขอเพิ่มเติม) แม่และเด็ก 1. อัตราส่วนการตายมารดา 2. จำนวนมารดาตาย 3. ร้อยละทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว สส. - 4. ร้อยละเด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) 5. ร้อยละเด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรอง พัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) สพด. 6. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก 7. ร้อยละของเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง 8. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 9. ส่วนสูงเฉลี่ยของเด็กอายุ 5 ปี 10. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเตี้ย 11. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะผอม 12. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน สภ. วัยเรียน 13. ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.1 ได้รับการตรวจวัดสายตา 14. ร้อยละของนักเรียนชั้น ป. 1 ตรวจพบสายตาผิดปกติ 15. ร้อยละของนักเรียนชั้น ป. 1 พบสายตาผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อแก้ไข/ ช่วยเหลือ

สรุปตัวชี้วัดเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2561 Cluster ตัวชี้วัดเฝ้าระวังปี 2560 หน่วยงาน เจ้าภาพ ตัวชี้วัดเฝ้าระวังปี 2561 (ที่ขอเพิ่มเติม/ปรับปรุงตัวชี้วัด) วัยเรียน 16. ร้อยละของเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน 17. ส่วนสูงเฉลี่ยของเด็กอายุ 12 ปี 18. ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน 19. ร้อยละของเด็กอายุ 6 - 12 ปี ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง สภ. - 20. ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปีปราศจากฟันผุ สท. 21. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี สอพ. วัยรุ่น 21. ร้อยละของวัยรุ่นอายุ 15-18 ปี สูงดีสมส่วน 23. ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี 24. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี วัยทำงาน 25. ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ตัวชี้วัดที่ขอเพิ่ม 1. ประชากรไทยอายุตั้งแต่ 6 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ กก. ผู้สูงอายุ 26. ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีฟันแท้ 20 ซี่และ 4 คู่สบ 27. ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ สอส.

สรุปตัวชี้วัดเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2561 Cluster ตัวชี้วัดเฝ้าระวังปี 2560 หน่วยงาน เจ้าภาพ ตัวชี้วัดเฝ้าระวังปี 2561 (ที่ขอเพิ่มเติม/ปรับปรุงตัวชี้วัด) สิ่งแวดล้อม 28. จำนวนตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน 29. ร้อยละของสถานบริการการสาธารณสุข สังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการ จัดการมูลฝอยติดเชื้อได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ สวล. ตัวชี้วัดที่ขอปรับชื่อ 1. ร้อยละของสถานบริการการสาธารณสุขมี การจัดการมูลฝอยติดเชื้อได้อย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ 30. ร้อยละของแหล่งน้ำบริโภคต่างๆ ที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพน้ำ บริโภคกรมอนามัย สอน. ตัวชี้วัดที่ขอเพิ่ม 2. ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) กป. รวม 30 ตัวชี้วัด 3 ตัวชี้วัด รวมทั้งสิ้น 32 ตัวชี้วัด

แนวทางการดำเนินงาน ปี 2561

ผังการส่งต่อข้อมูลกรมอนามัย ปี 2561 HDC สป.สธ. HDC สสจ. DOH-Dashboard นำเข้า ประมวลผล HDC Data HDC Data นำเข้า ประมวลผล นำเข้า Validation & Verification Web Application Mobile Application GIS Application Validation รายงาน HDC Data ข้อมูลเฝ้าระวัง Validation รายงาน HDC Data ข้อมูลเฝ้าระวัง ศูนย์อนามัย ภาคีเครือข่าย สสจ./พชอ. ระบบบันทึกข้อมูล JHCIS/HOSxP Mobile App นำเข้า Validation & Verification Web Application Mobile Application GIS Application หน่วยบริการ

แนวทางการให้บริการข้อมูลของระบบ DOH Dashboard เว็บแอพพลิเคชั่น DOH Dashboard (People-to-Machine) ใช้งานผ่านเว็บเบราเซอร์ เข้าใช้งาน แบบ Guest (ไม่ต้องล็อกอิน) และ แบบผู้ใช้งาน (ล็อกอิน โดยชื่อผู้ใช้ Mail Go Thai) เว็บเซอร์วิส (RESTful API) (Machine-to-Machine) เข้าใช้งานผ่าน Smart Devices เข้าใช้งานผ่าน เซิร์ฟเวอร์ HDC Big Data เข้าใช้งานผ่านการสืบค้น Big Data

รายงานผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เขียนโปรแกรมสนับสนุนงานสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม ครั้งที่ 1 รายงานผลการประชุมเชิงปฏิบัติเขียนโปรแกรม สนับสนุนงานสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม ครั้งที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น DOH Dashboard สวนสนับสนุนระบบเฝาระวังดานสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม ระหว่างวันที่ 5 – 10 พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเบลล์ วิลล่า รีสอร์ท เชียงใหม่

แนวทางการดำเนินงานพัฒนาระบบ

แนวทางการดำเนินงานพัฒนาระบบ (ต่อ) เขียนแดชบอร์ดรายการข้อมูลจาก HDC ที่มีการขอเพิ่มเติม ปรับปรุง เพื่อใช้งานในปี 2561 ปรับการแสดงผลตารางข้อมูล ถึงระดับอำเภอและตำบล เพิ่มเติม การแสดงแผนที่ สถานการณ์ความชุก 3 สี กลุ่ม ปกติ/เสี่ยง/เสี่ยงสูง ถึงระดับอำเภอและตำบล เพิ่มเติม การแสดงกราฟแนวโน้ม 3 ปีย้อนหลัง ระบบกรอกข้อมูล ตัวชี้วัดระบบเฝ้า ระวังฯ ที่ไม่มีใน HDC เช่น ปริมาณ ฝุ่นละลอง ระบบกรอกข้อมูล Health KPI นอกเหนือจาก HDC เช่น GREEN&CLEAN Hospital, ขยะมูล ฝอยติดเชื้อ, การตรวจสอบคุณภาพ น้ำ

แนวทางการดำเนินงานพัฒนาระบบ (ต่อ)