งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 นพ.สมบัติ แทนประเสริฐสุข นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ 19 ตุลาคม 2559 ณ รร.ปริ้นซ์ พาเลซ มหานาค กทม.

2 การดำเนินงานพัฒนาระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2560
ภายใต้กรอบ IHR 2005/GSHA/ยุทธศาสตร์ชาติ ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวัง พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาสมรรถนะด่านฯ และจังหวัดชายแดน ระบบควบคุมโรค พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินด้าน สธ. (EOC) 14 แห่ง : 24/7 หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค 1,030 หน่วย Public Health Lab กฎอนามัยระหว่างประเทศ 2548 พ.ร.บ.โรคติดต่อ 2558 ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ระบบควบคุมโรค & ภัยสุขภาพ ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่เสี่ยง & กลุ่มเป้าหมายพิเศษ เขตเมือง/ท้องถิ่น /เขตเศรษฐกิจพิเศษ / ผู้เดินทางท่องเที่ยวภายใน & ระหว่างประเทศ / ต่างด้าว /กลุ่มวัย ในปี 60 จะการดำเนินงานภายใต้ 4 หลักการดำเนินงาน ได้แก่ การป้องกันเชิงรุก (Prevent) และลดพฤติกรรมเสี่ยง ด้วยมาตรการที่มีประสิทธิภาพมาใช้อย่างทั่วถึง การตรวจจับที่รวดเร็ว แม่นยำ (Detect) การควบคุม (Response) ที่รวดเร็ว เป็นระบบ มีเอกภาพ ประสิทธิภาพ และปลอดภัย และขยายพื้นที่/กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เพื่อให้สามารถควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ และวาระความมั่นคงสุขภาพโลก โดยใช้ยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน มีการบูรณาการระบบการเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ มีหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค 1030 ทีม โดยขับเคลื่อน และขยายผลจากปี 59 ในการดำเนินงาน ขยายรูปแบบการป้องกันควบคุมโรคในเขตเมือง กลุ่มผู้เดินทางท่องเที่ยว เขตเศรษฐกิจพิเศษ ตามกลุ่มวัย พัฒนาคลินิกเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว คลินิกอาชีวเวชศาสตร์ การขยายความร่วมมือกับเครือข่ายภายในประเทศ และประเทศเพื่อนบ้าน และนำแผนยุทธศาสตร์ มาใช้ในการทำงาน พัฒนาและผลักดัน ร่าง พรบ.โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม และ ร่าง พรบ.โรคไม่ติดต่อ เพื่อดูแลประชาชนให้ครอบคลุมมากขึ้น พัฒนาหลักสูตรเวชศาสตร์การเดินทางและอาชีวอนามัย เพื่อพัฒนาและผลิตบุคลากรเฉพาะด้าน ให้เพียงพอในการดูแลประชาชน พัฒนา ร่าง พ.ร.บ.โรคประกอบอาชีพ/ โรคไม่ติดต่อ หลักสูตรเวชศาสตร์การเดินทางฯและ อาชีวเวชศาสตร์ ยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรค 20 ปี ขับเคลื่อน / ขยายผล รูปแบบการป้องกันควบคุมโรคในเขตเมือง ผู้เดินทางท่องเที่ยว ดิจิตัล เขตเศรษฐกิจพิเศษ ต่างด้าว กลุ่มวัย คลินิกเวชศาสตร์การเดินทางฯ & อาชีวเวชศาสตร์ ความร่วมมือเครือข่ายภายใน & ป.เพื่อนบ้าน แผนปฏิบัติการเฝ้าระวังฯ ตาม พรบ.โรคติดต่อ 58 แผนยุทธศาสตร์มาลาเรีย / วัณโรค ปี 60-64 แผนพัฒนาการป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติ 5 ปี

3 จุดเน้น Cluster CD & ระบบควบคุมโรค ปี 60
เชิงประเด็น - หนอนพยาธิ ในพื้นที่ถิ่นทุรกันดาร/Malaria รร. ตชด.196 รร. - คัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (PA) พระราชดำริ - กำจัด : มาลาเรีย / หัด / พิษสุนัขบ้า - กวาดล้าง : โปลิโอ / เท้าช้าง - ป้องกันโรคติดต่อ : Zika / ไข้เลือดออก 2.. งานป้องกันควบคุม โรคติดต่อ จุดเน้น Cluster CD และ ระบบควบคุมโรค ปี 60 เริ่มจาก โครงการตามพระราชดำหริ - ร่างอนุบัญญัติ 23 ฉบับ - ขับเคลื่อนคณะกรรมการระดับจังหวัด 3.ขับเคลื่อน พ.ร.บ. โรคติดต่อ 58

4 จุดเน้น Cluster CD & ระบบควบคุมโรค ปี 60
เชิงประเด็น - Vaccine survey (บูรณาการ) - ผลักดัน HPV ตามแผนงานสร้างเสริมสุขภาพแห่งชาติ (บูรณาการ) 4. สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน 5. ศูนย์เด็กเล็กและโรคติดต่อในเด็ก - อัตราป่วยโรคมือเท้าปาก ในเด็กอายุ 0 – 5 ปีลดลง - ศูนย์เด็กเล็กดำเนินการได้ตามเกณฑ์(บูรณาการ) - โรงเรียนอนุบาลดำเนินการได้ตามเกณฑ์(บูรณาการ)

5 จุดเน้น Cluster CD & ระบบควบคุมโรค ปี 60
เชิงระบบ 6. เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่ & ภัยฯ เชื่อมโยงระดับภูมิภาค ด่าน : IHR แห่ง จังหวัดชายแดน : IHR2005 & GHSA 10 จ.เป้าหมาย Twin cities จ.ชายแดนตามข้อกำหนด Twin cities ไม่น้อยกว่า 50 % คลินิก Travel medicine 7 แห่ง One Health 10 จ.เป้าหมาย พัฒนาสมรรถนะทางเข้าออกประเทศ ตาม IHR และเขตเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) (บูรณาการ) จุดเน้น Cluster CD และ ระบบควบคุมโรค ปี 60 เริ่มจาก โครงการตามพระราชดำหริ พัฒนากำลังคน ด้านระบาดวิทยา พัฒนานักระบาดวิทยาภาคสนาม (1 : แสนประชากร)

6 จุดเน้น Cluster CD & ระบบควบคุมโรค ปี 60
เชิงระบบ พัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลการเฝ้าระวัง 5 ระบบ 5 มิติด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลที่ได้มาตรฐาน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน EOC จากส่วนกลางสู่ภูมิภาคอย่างมีประสิทธิภาพในทุกจังหวัด (บูรณาการ) ภาพแสดงการเชื่อมโยงระบบข้อมูลจากส่วนกลางและภูมิภาค ผ่านระบบ Health Data Center (HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อการตอบสนองภารกิจการดำเนินงานศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) ให้มีประสิทธิภาพและสนับสนุนการดำเนินงานของ SRRT ในระดับพื้นที่ จำนวน 1,030 ทีม ได้อย่างทันเวลา (Real Time) และต่อเนื่อง (24 ชม./7 วัน) ผ่านเครือข่ายความเร็วสูง ที่มีประสิทธิภาพ และสามารถจัดการแก้ไขปัญหาภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขได้ในทุกระดับจากส่วนกลาง เขตบริการสุขภาพ ลงไปถึงสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ซึ่งจะส่งผลทำให้การตอบสนองภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขต่างๆ สามารถได้รับการจัดการแก้ไขได้อย่างทันท่วงที ลดการแพร่กระจาย การระบาดของโรค และลดความสูญเสียในวงกว้าง ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ที่อาจเกิดจากภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขรวมถึงสามารถสั่งการ และจัดทีมให้เข้าถึงพื้นที่ประสบภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7 จุดเน้น Cluster CD & ระบบควบคุมโรค ปี 60 เชิงระบบ
7. การเตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ ขับเคลื่อนด้วยแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อมฯ ร่วมกับทุกภาคส่วน (One Health) จัดระบบเฝ้าระวังควบคุมโรคในประชาชนกลุ่มเสี่ยง เช่น MERS รับมือพิธีฮัจย์ อุมเราะห์

8 แผนงานควบคุมโรค/ระบบควบคุมโรค
ตามภารกิจกรมฯ Cluster CD ระบบควบคุมโรค แผนงานควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน แผนงานควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ แผนงานควบคุมโรคติดต่อจากสัตว์และคน 3.1 แผนงานโรคพิษสุนัขบ้า 3.2 แผนงานโรคเลปโตสไปโรซิส แผนงานควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ 4.1 แผนงานโรคติดต่ออุบัติใหม่ 4.2 แผนงานโรคไข้หวัดใหญ่ 4.3 แผนงานป้องกันควบคุมโรคมือเท้าปาก 5.แผนงานควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง 5.1 แผนงานกำจัดโรคมาลาเรีย 5.2 แผนงานโรคเท้าช้าง 5.3 แผนงานโรคลิซมาเนีย 6.แผนงานควบคุมโรคติดเชื้อใน รพ. 7.แผนงานควบคุมโรคหนอนพยาธิ 7.1 แผนงานโรคหนอนพยาธิฯ 7.2 แผนงานโรคพยาธิใบไม้ในตับและมะเร็งท่อน้ำดี แผนงานระบบระบาดวิทยา แผนงานป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง แผนงานยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล โครงการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ และภัยสุขภาพที่เชื่อมโยงระดับภูมิภาค 4.1 โครงการพัฒนาจังหวัดสุขภาพชายแดนฯ 4.2 โตรงการพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศฯ 4.3 โครงการพัฒนาเครือข่ายฯ Twin Cities 4.4 โครงการพัฒนาศูนย์ฝึกอบรมฯ (IDCA) 5. แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ 6. แผนงานบูรณาการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา นอกจากงานตามจุดเน้นที่กรมฯให้ความสำคัญ ยังมีงานภารกิจตามภารกิจที่ต้องดำเนินงานเพื่อเฝ้าระวังความคุมโรคตามภารกิจของแต่ละหน่วยงาน

9 ความเชื่อมโยง PA /SDA /เป้าหมายการลดโรค
ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง : ร้อยละ80 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ ในตับ ร้อยละ 80 (โครงการพระราชดำริ) ตัวชี้วัดกรมกับกระทรวงฯ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่ง หน่วยงานหลัก และ สคร. ที่เกี่ยวข้อง ต้องช่วยกันผลักดัน ให้บรรลุผลสำเร็จ

10 ตัวชี้วัด PSA ร้อยละของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ (ร้อยละ 85) ร้อยละของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ (ร้อยละ 50) 3. จำนวนเหตุการณ์โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่สามารถควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง (เท่ากับ 0) ร้อยละของช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศและจังหวัดชายแดนผ่านเกณฑ์การประเมินฯ (ร้อยละ 90) 5. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศเพื่อการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ และการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (EOC ระดับ 5) เป็นตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการ กรม บางส่วน 5 ตัว จาก ทั้งหมด 15 ตัว ที่กลุ่มงานแผน และนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง ต้องช่วยกันผลักดัน ให้มีผลผลิต ผลลัพธ์ ตามเป้าหมายกำหนด ได้แก่......

11 การกำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงาน ปี 2560 : ผลลัพธ์ตามเป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ ตัวชี้วัด PA/PSA/SDA ที่เกี่ยวข้อง ประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณตามมาตรการเพิ่ม ประสิทธิภาพฯ ของรัฐบาล และนโยบาย กรม คร. รายงานผลการดำเนินงานรายไตรมาส และทุกแผนงาน/ โครงการให้รายงานผลได้ภายในไตรมาส 4 Slide 11. : การกำกับติดตามผลการดำเนินงาน ปี 2560 จะติดตามผลลัพธ์การดำเนินงาน ตามเป้าหมายการลดโรค ตามนโยบาย 13’s จุดเน้นกรม และกรอบแผนปฏิบัติราชการฯ เล่มหยิน-หยาง สีฟ้า การรายงานผลงานตามรายไตรมาส และทุกหน่วยงานต้องบริหารจัดการให้สามารถรายงานผลงานทุกโครงการได้แล้วเสร็จภายในสิ้นเดือนกันยายน และบริหารจัดการใช้จ่ายงบประมาณ ให้มีประสิทธิภาพส่งผลผลิตตามตัวชี้วัดในเอกสารงบประมาณ และตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้จ่ายงบประมาณ ปี 2560 ของรัฐบาล

12


ดาวน์โหลด ppt จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google