ทิศทางและแนวทาง การจัดการป่าชุมชนในอนาคต เจนศักดิ์ วิชาวุฒิพงษ์ ผู้อำนวยการส่วนส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน สำนักจัดการป่าชุมชน กรมป่าไม้
นโยบาย / สิ่งท้าทายในการส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน ป่าชุมชน เป็นภารกิจหลักของกรมป่าไม้ Win / Win ป่าสมบูรณ์ ประชาชนได้ประโยชน์ สังคมยอมรับการทำงานของ จนท.ป่าไม้
หลักการ / แนวคิด ส่งเสริม จัดตั้ง จัดการ พัฒนา
แนวคิดการจัดการป่าไม้อย่างมีส่วนร่วม รูปแบบ “ป่าชุมชน” ความยั่งยืน 4. การพัฒนา ใช้ประโยชน์ การนิเทศงาน/การสนับสนุนวิชาการ 3. การจัดการ (ปชช. 1,2,3) 2. การจัดตั้ง เริ่มปี 2543 1. การส่งเสริม การติดตามประเมินผล ( ปชช. 4) ส่วนส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน สำนักจัดการป่าชุมชน กรมป่าไม้ 14 กรกฎาคม 2549
ผลการอนุญาตโครงการป่าชุมชน ถึง 30 ก.ย. 2549 หมู่บ้าน โครงการ ภาคเหนือ 1,736 1,642 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2,930 2,533 ภาคกลาง 736 648 ภาคใต้ 551 546 ทั้งประเทศ 5,953 5,369
ข้อกังขา / ข้อซักถาม เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ไม่ออกทำงานพื้นที่ พนักงานราชการทำงานไม่คุ้มค่าตอบแทน เบิกเงิน แต่..ไม่มีผลงาน ตรวจสอบใบสำคัญ...เบิกจ่ายไม่เหมาะสม
สิ่งท้าทาย จังหวัดใดจะเป็นจังหวัดแรกในประเทศไทยที่จะจัดตั้งป่าชุมชนได้ครอบคลุม หรือครบทุกหมู่บ้านที่มีต้องการ ?? การจัดการป่าชุมชนในภาพรวมของประเทศที่ข้ามไปสู่ขั้นตอนการจัดการและพัฒนา นวัตกรรมใหม่ๆที่จะเกิดขึ้นในภารกิจป่าชุมชน การประกาศต่อสังคมถึงผลงานของกรมป่าไม้
Success Factors ป่าสมบูรณ์ ประชาชนได้ประโยชน์ ฯลฯ People Participation Go to the people, live with them, learn from them then you can do everything. ป่าสมบูรณ์ ประชาชนได้ประโยชน์ ฯลฯ
พื้นฐานความเข้าใจเรื่องป่าชุมชน กลุ่มที่ไม่เคยทำงานเลย / ไม่เข้าใจเลย กลุ่มที่เข้าใจคลาดเคลื่อน กลุ่มที่พอเข้าใจ...แต่..ยังไม่แน่ใจ กลุ่มที่เข้าใจเพราะศึกษาและติดตามสถานการณ์ อื่นๆ ที่มีแนวคิดยึดติดเฉพาะ - NGO
ที่มาของความหมายป่าชุมชน จาก พ.ร.บ.ป่าไม้ และ พ.ร.บ.ป่าสงวน ฯ จาก ร่าง พ.ร.บ. ป่าชุมชน พ.ศ. .... จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน จากรัฐธรรมนูญ (๒๕๔๐) การมีส่วนร่วม / หน้าที่ของชุมชน จากอำนาจหน้าที่ของกรมป่าไม้
ความหมายสำหรับการปฏิบัติ ป่าชุมชน หมายถึง ที่ดิน และ/หรือ ที่ดินป่าไม้ ที่ชุมชนได้ดำเนินการ หรือได้รับอนุญาตตามกฎหมายให้ดำเนินการ ร่วมกับพนักงานเจ้าหน้าที่จัดการกิจการงานด้านป่าไม้อย่างต่อเนื่อง ภายใต้กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อปฏิบัติ และแผนงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจสอดคล้องกับความเชื่อและวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่นนั้นด้วย การจัดการหรือดำเนินการดังกล่าว ก็เพื่อการอนุรักษ์และให้ชุมชนได้ใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... เริ่มเสนอฉบับแรกเมื่อปี 2534 เสนอฉบับล่าสุด ปี 2550 หนังสือกรมป่าไม้ ด่วนที่สุด ที่ ทส 1605 / 2027 ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2550 รวม 9 หมวด รวม 66 มาตรา + บทเฉพาะกาล ครม. รับหลักการเมื่อ 6 มีนาคม 2550
พื้นที่ที่ดำเนินกิจกรรมป่าชุมชน พื้นที่ป่าไม้ของรัฐ ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าไม้ ตาม พ.ร.บ. ป่าไม้ ๒๔๘๔ ที่ดินนอกเขตป่าไม้ และบริเวณที่ได้รับอนุญาต
ส่วนราชการหลักดำเนินการ ส่วนส่งเสริมการจัดการป่าไม้ สำนักจัดการป่าชุมชน ส่วนป่าชุมชน สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ ... ศูนย์ประสานงานจัดการทรัพยากรป่าไม้พื้นที่ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาวนศาสตร์ชุมชน
เจ้าหน้าที่ภาคอำนวยการ / เจ้าหน้าที่ภาคสนาม เจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายในสังกัดส่วนส่วนส่งเสริม การจัดการป่าชุมชน เจ้าหน้าที่ส่วนป่าชุมชน สำนักจัดการฯพื้นที่ ข้าราชการ / พนักงานราชการ ทุกตำแหน่ง ในอดีต-ปัจจุบัน ถูกผู้ที่เกี่ยวข้องมองอย่างไร ?
กรมป่าไม้ต้องการให้เจ้าหน้าที่ภาคสนาม ทำอะไร?? ผลงานที่เป็นรูปธรรมที่ถูกตรวจสอบ คือ จำนวน“ป่าชุมชนที่ได้จัดตั้งแล้ว” แต่ละปี ใบสำคัญปฏิบัติงานสนามของทุกระดับถูกตรวจสอบ การพิจารณาประสิทธิภาพ/รายงานผลงานการออกไปปฏิบัติงานพื้นที่ ประสิทธิภาพมุ่งเน้นไปที่ “พนักงานราชการ” และหัวหน้าผู้ปฏิบัติงานป่าชุมชนพื้นที่
การส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน Promotion / Extension เป็นการไป ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ทั่วไปและความรู้เฉพาะ ช่วยจัดกลุ่มสนใจ ฝึกอบรม ร่วมจัดทำแผนงานโครงการป่าชุมชน ร่วมการสำรวจกำหนดพื้นที่ โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการทำงานกับชุมชน วิชาการป่าไม้ กฎหมาย & ระเบียบราชการ ส่งเสริมเพื่อ นำไปสู่การจัดตั้งป่าชุมชน (Pro.) ส่งเสริมเพื่อ การจัดการป่าชุมชนไปสู่ความยั่งยืน (Ext.)
ผู้ปฏิบัติงานสำนักฯ / ภาคสนาม ผู้อำนวยการส่วนป่าชุมชน / ทีมงาน หัวหน้าศูนย์ประสานงานจัดการทรัพยากรป่าไม้ฯ พนักงานราชการ 1.นักวิชาการเผยแพร่ เจ้าพนักงานการเกษตร 2.เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เจ้าหน้าที่คอม
วิธีการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ภาคสนาม ใครต้องวางแผนภาพรวมข้อมูลทั้งจังหวัด ใครต้องวางระบบเจ้าหน้าที่ ใครต้องออกไปปฏิบัติงานพื้นที่ ใครต้องวางแผนการใช้อุปกรณ์การบริหาร ใครต้องรายงานผล ในแต่ละระดับ
ตัวชี้วัด และวัดประสิทธิภาพ ปัจจุบัน / ในอนาคต จำนวนโครงการป่าชุมชนที่จัดตั้ง ต่อ คน ต่อ ปี จำนวนราษฎรที่มีส่วนร่วมในโครงการป่าชุมชน เพิ่มเติมในอนาคต ก. ประสิทธิภาพของชุมชนในการจัดการป่าชุมชน 1) โครงการบริหารจัดการป่า 2) โครงการพัฒนาอาชีพด้านป่าไม้ ข. ตัวชี้วัดความยั่งยืน
การรายงานผล การรายงานภาพรวมของสำนักฯ จากแผนปฏิบัติงานประจำปี 2550 ดังนี้
วันที่ / ช่วงเวลา ที่ต้องจัดส่ง รายงานที่ต้องจัดส่งกรมป่าไม้ ภายในวันที่ 18 พฤษภาคม 2550 โครงการป่าชุมชนตามแนวทางการจัดตั้งป่าชุมชนของกรมป่าไม้ (ปชช. 1-3) รายงานการสำรวจจัดทำฐานข้อมูลและพี้นที่เป่าหมาย ยืนยันรายชื่อหมู่บ้านเป้าหมาย ประจำปี 2550 รายชื่อคณะกรรมการป่าชุมชน ภายใน 5 วัน หลังสิ้นไตรมาส - รายงานผลแบบ สงป.301 จ. และ สงป. 302 จ. ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2550 - แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ประจำปี 2551 ก่อนดำเนินการฝึกอบรม อย่างน้อย 10 วัน โครงการฝึกอบรม หลักสูตร “การบริหารจัดการป่าและการพัฒนาอาชีพด้านป่าไม้” ภายในกำหนด 30 วัน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม - รายงานผลการฝึกอบรม ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2550 - โครงการป่าชุมชน (ปชช.1 – 3) หมู่บ้านเป้าหมาย ประจำปี 2551 ภายในวันที่ 10 ตุลาคม 2550 - สรุปผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2550 - สรุปค่าใช้จ่ายจริง ประจำปี 2550
ระดับผู้ปฏิบัติงาน แบบ ปชช. 1-3
2 Key Success Factors การวางแผนที่ดี ความมุ่งมั่น และการออกไปทำงานให้ได้ผล ของเจ้าหน้าที่ภาคสนาม People Participation
การสื่อสารกับส่วนกลาง www.forest.go.th rfdpop@forest.go.th 0-2561-4292-93 ต่อ 638 ฝ่ายจัดการและพัฒนาป่าชุมชน 655 ฝ่ายส่งเสริมและสารสนเทศป่าชุมชน 652 ฝ่ายแผนงานและติดตามผล 652 ฝ่ายบริหารทั่วไป 665
เจนศักดิ์ วิชาวุฒิพงษ์ ผ.อ. ส่วนส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน Q&A เจนศักดิ์ วิชาวุฒิพงษ์ ผ.อ. ส่วนส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน