แนะนำ แผนที่ยุทธศาสตร์ กับ นวัตกรรม
ผู้ริเริ่มสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์คือ Professors Robert Kaplan & David Norton Harvard University ผู้ปรับปรุงสำหรับใช้ในภาคสังคมคือ น.พ. อมร นนทสุต และคณะ
เข้าใจกระบวนการพัฒนา
คำตอบอยู่ที่ความเข้มแข็งของชุมชน “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” คำตอบอยู่ที่ความเข้มแข็งของชุมชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/กองทุน ทฤษฎี 3 ก. เพื่อชุมชนเข้มแข็ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/กองทุน กรรมการ ชุมชนเข้มแข็ง กองทุน สุขภาพตำบล อสม / แกนนำชุมชน กำลังคน กองทุน
2 แนวคิดของการพัฒนา Process-oriented Approach Output-oriented Approach มองกว้าง มุ่งที่กระบวนการ เป็นการเสริมสร้างพลังจากภายใน ยิ่งทำความสามารถยิ่งเพิ่ม (ระบบพัฒนาสังคม ?) มองแคบ เอาผลงานเป็นหลัก เห็นแต่ปัญหา รวมศูนย์จากภายนอก อยู่ในมือผู้เชี่ยวชาญ (ระบบราชการทั่วไป?) ผสมผสาน ชุมชนเปลี่ยนแปลง สู่ความยั่งยืน เกิดจิตสำนึก พึ่งตนเองได้ คุณภาพชีวิตดี สุขภาพดี เน้นกระบวนการ ไม่เน้นผลงาน เน้นผลงาน ไม่เน้นกระบวนการ
ปรับยุทธศาสตร์การสร้างสุขภาพ แนวทางใหม่ (development-oriented Approach) สร้างบทบาทของประชาชน สร้างเทคโนโลยีของประชาชน ปรับแผนงานโครงการ (อปท/กองทุน) ปรับกระบวนทัศน์/บทบาทของกรรมการกองทุนให้ตอบสนอง แนวทางเดิม (service-oriented Approach) สร้างบทบาทของบุคลากร สร้างเทคโนโลยีของบุคลากร สร้างแผนงานโครงการ บริการประชาชน
บทบาทของประชาชนตามวิสัยทัศน์ ดูแลสุขภาพของตนเองได้ ปฏิบัติต่อสภาวะแวดล้อมประเภทต่างๆอย่างเหมาะสม ร่วมมือในการดำเนินมาตรการทางสังคม บทบาททั้งสามเป็นตัวกำหนด ยุทธศาสตร์ของภาคีต่างๆที่มีส่วนสนับสนุน กระบวนการสำคัญที่จะใช้เพื่อตอบสนอง การพัฒนาทักษะของบุคลากร ข้อมูลทางบริหารและวิชาการ การพัฒนาบริบท โครงสร้าง ผู้นำ และการทำงานเป็นทีม แสดงด้วยภาพต่อไปนี้
ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการสร้างบทบาทของประชาชน ใหม่ของคนในสังคม สอดรับกันด้วย แผนที่ยุทธศาสตร์ 1. สมรรถนะขององค์กร 2.กระบวนการบริหารจัดการ 3.บทบาทของภาคี
มีการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ องค์ประกอบของแผนที่ยุทธศาสตร์ 2 1 มีโครงการของชุมชน บุคคลมีบทบาทใช้มาตรการเทคนิค/สังคม ประชาชนมีบทบาท มีระบบเฝ้าระวัง มีมาตรการสังคม อปท มีส่วนร่วม ประชาสังคมทำงาน ภาคีแข็งแกร่ง กลุ่มสนับสนุนทาง การเงิน การเมืองมีบทบาท ฝ่ายวิชาการมีบทบาท ระบบบริการดี กลไกการประสานงานดี บริหารจัดการดี ระบบการสื่อสารดี มีการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ มีการสร้างนวัตกรรม รากฐานแข็งแรง 1 การพัฒนา การสร้างผลผลิต 2 องค์กรมีมาตรฐาน ข้อมูลทันสมัย บุคลากรมีทักษะ © 2005 by the Balanced Scorecard Institute. All rights reserved.
ขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ 1 วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์ ขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ กำหนดจุดหมายปลายทาง 2 3 สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ สร้าง ใช้ 4 สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) สร้างนวัตกรรม / ตัวชี้วัด 5 6 สร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) 7 เปิดงาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) เพื่อจุดหมายปลายทาง ความเข้มแข็งของชุมชนทางสุขภาพ กับโครงการที่ สปสช สนับสนุน โครงการนี้ โครงการอื่น
สรุป แผนที่ยุทธศาสตร์ คือเครื่องมือบริหารจัดการยุทธศาสตร์ โดยให้รายละเอียดของยุทธศาสตร์ในแง่มุมต่างๆ รวมทั้งกำหนดเส้นทางสู่ความสำเร็จ คือเครื่องมือสื่อสารให้ผู้ที่มีส่วนได้เสียและบุคลากร ได้ทราบ จะได้ปรับการทำงานของฝ่ายต่างๆให้เข้าหา และไปในทิศทางเดียวกัน คือระบบที่ติดตามดูความสำเร็จของยุทธศาสตร์ด้วยการวัดผลการปฏิบัติ เพื่อการตัดสินใจที่ถูกต้อง และเพื่อช่วยให้องค์กรเรียนรู้ว่ายุทธศาสตร์ใดใช้ได้หรือไม่
การถ่ายระดับแผนที่ยุทธศาสตร์ตั้งแต่ระดับอำเภอลงไป SLM ของกองทุนต้นแบบ 3 แห่งในอำเภอพร้อมตาราง 11 ช่อง SLM จากกรมวิชาการ สร้างตาราง 11 ช่อง(บางส่วน)ของอำเภอ ตาราง 11 ช่อง(บางส่วน)จากกรมฯ สร้าง SLM ของอำเภอ ตำบล อำเภอ แผนที่ความคิดและจุดหมายปลายทางของตำบล กำหนดประเด็นโดยผู้บริหาร ปรับตาราง11 ช่อง (สมบูรณ์) แผนปฏิบัติการตำบลรายประเด็น
การสร้างทักษะเรื่องแผนที่ยุทธศาสตร์ตั้งแต่ระดับอำเภอลงไป แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ระดับอำเภอ แผนที่ SLM กองทุนต้นแบบ 3 แผนที่ SLM กองทุนต้นแบบ 2 แผนที่ SLM กองทุนต้นแบบ 1 ขั้นที่ 3 อำเภออบรมกองทุนสมัครใหม่(ใช้หลักสูตรลัด) ให้สร้างแผนปฏิบัติการได้ ขั้นที่ 1 อำเภอสร้างกองทุนต้นแบบ(ใช้หลักสูตรเต็ม)ให้ได้อย่างน้อย 3 แห่ง แผนปฏิบัติการ (MINI -SLM)กองทุนสมัครใหม่ ขั้นที่ 2 ผสาน SLM กองทุนต้นแบบเข้าด้วยกันเป็น SLM ระดับอำเภอ
KPI PI KPI PI KPI KPI KPI PI PI PI PI KPI KPI KPI PI PI KPI KPI KPI
ทัองถิ่น/ตำบลสร้างแผนปฏิบัติการจากแผนที่ยุทธศาสตร์ SLM องค์ประกอบของยุทธศาสตร์ 1.กลุ่มเป้าหมาย 2. บุคลากร 3. มาตรการ 4. สภาวะแวดล้อม มาตรการทางเทคนิควิชาการ มาตรการทางสังคม กรม/จังหวัด/อำเภอสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ ปัญหา ปัญหา บทบาทท้องถิ่น /ชุมชน บทบาทบุคลากรสาธารณสุข ท้องถิ่นสร้างแผนปฏิบัติการ/นวัตกรรม
กลยุทธ์สำคัญเพื่อสร้างบทบาทประชาชน ดำเนินการผ่านกองทุนประกันสุขภาพตำบล 1 อบรมแผนที่ยุทธศาสตร์/จัดการความคิดสร้างสรรค์ จัดระบบวางแผนสุขภาพชุมชน จัดระบบสื่อสาร 3 สร้างนวัตกรรมกระบวนการ PP /รูปแบบประกันสุขภาพโดยท้องถิ่น 2 ใช้กลยุทธ์พัฒนาบทบาทประชาชน สร้างและบริหารเครือข่าย จัดระบบข้อมูล
1 แผนการอบรมแผนที่ยุทธศาสตร์และสร้างนวัตกรรม คณะวิทยากรกลาง (1) คณะว.ฝึกอบรมกองทุนฯของจังหวัด (2) คณะว.จัดการนวัตกรรม ฝึกอบรมแผนที่ยุทธศาสตร์ให้คณะว.จังหวัด/อำเภอพร้อมกับกองทุนที่มีศักยภาพเป็นต้นแบบ คณะผู้เชี่ยวชาญและคณะวิทยากรแผนที่ยุทธศาสตร์ (ว.) จากระดับเขต /ภาค คณะวิทยากรกลาง คณะวิทยากรจังหวัด/อำเภอ คณะวิทยากรฝึกอบรม คณะวิทยากรนวัตกรรม กองทุนศักยภาพต้นแบบ กองทุนต้นแบบ/ทั่วไป
แผนการอบรมแผนที่ยุทธศาสตร์และสร้างนวัตกรรม 1 สาธารณสุขจังหวัด คณะผู้จัดการนวัตกรรม คณะวิทยากรฝึกอบรม (จังหวัด/อำเภอ) กองทุนศักยภาพต้นแบบ(ใช้หลักสูตรเต็ม) กองทุนฯปกติ (ใช้หลักสูตรย่อ) คณะวิทยากรนวัตกรรม(จังหวัด/อำเภอ) ปรับกระบวนการสร้างบทบาทประชาชน จัดการความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ประเด็นที่ 2 (n) กลยุทธ์การสร้างบทบาทประชาชน 2 สร้างนวัตกรรม # 2 (n) สร้างนวัตกรรม # 1 สร้างบทบาทของประชาชน สร้างกระบวนการของประชาชน สร้างแผนงานโครงการ (อปท/กองทุน) ปรับกระบวนทัศน์/ บทบาทกรรมการกองทุนให้ตอบสนอง สน /บทบาทของบุคลากร(ทุกฝ่าย)ให้ตอบสนอง สร้างบทบาทของเจ้าหน้าที่ สร้างกระบวนการ ของเจ้าหน้าที่ Appropriate Technology ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ประเด็นที่ 2 (n) ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ประเด็นที่ 1
แผนการจัดการนวัตกรรม 3 แหล่งนวัตกรรม กระบวนการสร้างบทบาทประชาชน ภายนอก บัญชีนวัตกรรม ภายใน แผนชุมชน กระบวนทัศน์ ระบบ สื่อสาร Web Board / นิทรรศการ/ดูงาน ทีมจัดการนวัตกรรม ตกผลึกความคิดริเริ่ม พัฒนาต้นแบบ แลก เปลี่ยนเรียนรู้ นวัตกรรม ต่อเนื่อง การใช้นวัตกรรม การพัฒนาคน กระบวน การ บริหารจัดการ รูปแบบบริการ จัดการความคิดริเริ่ม โครงการสนับสนุน รางวัลความสำเร็จ
ก่อนจบการบรรยาย การใช้เครื่องมือทางบริหารใดๆก็ยังไม่สำคัญเท่าวิธีใช้ว่าเราใช้อย่างไร ถ้าบุคลากรมองแผนที่ยุทธศาสตร์ว่าเป็นสิ่งที่สั่งมาจากเบื้องบน เขาก็จะยอมรับโดยโอนอ่อนผ่อนตาม (Comply) แต่ไม่ได้หมายความว่าเขาจะเห็นชอบหรือมีจิตใจด้วย (Commit) เขาอาจจะทำงานให้เท่าที่จำเป็น แต่ไม่มากกว่านั้น ความสำเร็จจะเกิดขึ้นต่อเมื่อผู้บริหารถือเป็นเรื่องจริงจัง และถ่ายทอดปลุกเร้าความรู้สึกของคนทั้งองค์กรให้คล้อยตาม
ทัศนะของท่านเป็นอย่างไร ? ทัศนะที่แตกต่าง หลังการบรรยาย ท่านอาจมีทัศนะต่อการเปลี่ยนแปลงเป็น 2 ลักษณะ การเปลี่ยนแปลงคือโอกาส (Opportunity) จะเห็นช่องทางและโอกาสสร้างนวัตกรรมเพื่อความเจริญขององค์กรในบริบทใหม่ การเปลี่ยนแปลงคือภัยคุกคาม(Threat) จะหวาดระแวง พยายามป้องกันองค์กรจากการเปลี่ยนแปลง เกิดความขัดแย้ง เป็นปรปักษ์ อันจะกลับเป็นผลร้ายต่อองค์กรในภายหลัง ทัศนะของท่านเป็นอย่างไร ?
สวัสดี