เส้นทางความก้าวหน้าในวิชาชีพ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารงานบุคคล
Advertisements

การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
๑.มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษาหรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุ สภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ( ๑ ) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
สรุปผลการอบรม หลักสูตรการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและ ประเมินผล จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ผู้อำนวยการกองทรัพยากรบุคคล
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
โดย ผศ. ไพบูลย์ แย้มเผื่อน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
หลักเทคนิคการเขียน SAR
ถวิล สร่ายหอม ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนขุนหาญวิทยาสรรค์
ผศ.ดร.สุจิตรา อู่รัตนมณี
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา และแนวทางการบริหารเกณฑ์ฯ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รองศาสตราจารย์สนิท สัตโยภาส
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
วิธีการขอกำหนดตำแหน่งวิชาการ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
Google Scholar คืออะไร
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
(Code of Ethics of Teaching Profession)
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เส้นทางความก้าวหน้าในวิชาชีพ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ ของการเป็นอาจารย์ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ

หน้าที่ของอาจารย์มหาวิทยาลัย สอน วิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

1. การสอน กระบวนการต่างๆ 1. การเตรียมการสอน 2. การสอนในห้องเรียน 3. การออกข้อสอบและตรวจข้อสอบ 4. การให้คำปรึกษาและชี้แนะแก่นักศึกษา เป็นหน้าที่ที่สาคัญที่สุด ซึ่งประกอบไปด้วยกระบวนการต่างๆ เช่น การเตรียมการสอน การทบทวนในสาขาวิชาที่สอน การบรรยายในชั้นเรียน การออกข้อสอบ และตรวจข้อสอบ ต้องเข้าอบรมการวัดผลประเมินผล ที่ม.ของท่านจัดให้ การให้คำปรึกษาและชี้แนะแก่นักศึกษา ร่วมเป็น อ. ที่ปรึกษา ศึกษากฎระเบียบต่างๆ ในการศึกษาของนิสิตนักศึกษา ใส่ใจ

มคอ. และ TQF ย่อมาจากอะไร? มคอ.: กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ TQF: HEd Thai Qualifications Framework for Higher Education

ส่วนประกอบ ของ มคอ. มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา มคอ.2 มาตรฐานคุณวุฒิกับรายละเอียดของหลักสูตร มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ.5 รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา มคอ.6 รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ.7 รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร

ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) สิ่งที่พัฒนาขึ้นในตัวนักศึกษา ทั้งจาก การเรียนในห้องเรียน กิจกรรมในและนอกหลักสูตร ปฎิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่น กับอาจารย์ ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย ผลการเรียนรู้ ต้องวัดได้ และครอบคลุมถึง สาระความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา ทักษะหรือความสามารถในการนำความรู้ไปใช้ พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเชื่อ อุปนิสัย ต้องมีการเพิ่มความละเอียดและความสำคัญในแต่ละระดับคุณวุฒิ

ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) สกอ.กำหนดให้ครอบคลุมอย่างน้อย 5 ด้าน (domains) 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ความด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย (สำหรับสาขา/สาขาวิชาที่เน้นทักษะทางปฏิบัติ)

https://21centuryedtech.wikispaces.com/21+Century+Info

https://21centuryedtech.wikispaces.com/21+Century+Info 21st Century Skills Learning outcomes Evaluation https://21centuryedtech.wikispaces.com/21+Century+Info

Learning and Innovative Skills

Information, Media and Technology Skills

Life and Career Skills

Core Subjects and 21st Century Themes

https://21centuryedtech.wikispaces.com/21+Century+Info CHANGES https://21centuryedtech.wikispaces.com/21+Century+Info

แนวทางในการเปลี่ยนแปลงของการเรียนการสอน ปรับปรุงหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนเพื่อให้เข้ากับสถานการณ์ ปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว Information ที่มากมาย Technology ที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว สังคม ที่ปรับไปตามความหลากหลายทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจที่ปรับตัวเข้าสู่ลักษณะของ Global & Knowledge-Based Economy สภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม

2. การวิจัย อาจารย์ทุกคนต้องทำงานวิจัย ขอทุนทำวิจัย: ทุนภายใน/ภายนอก เป็นนักวิจัยที่ดี ส่งรายงานทุนตามกำหนดเวลา นำเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการทั้งระดับชาติ/นานาชาติ ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสาร ไม่ทำการโจรกรรมผลงาน (plagiarism) เป็นหน้าที่อีกอย่างหนึ่งที่ละเลยไม่ได้ เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและตนเอง ขอทุน เช่น ทุนคณะ ทุนมหาวิท. ทุนสกว (ทุนหลังปริญญาเอก) การตีพิมพ์ ระวัง หลีกเลี่ยง plagiarism หมายถึง การลอกงานเขียน ความคิดหรืองานสร้างสรรค์ดั้งเดิมทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบ เหมือนงานดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง สำหรับผู้เขียนที่ประสงค์ที่จะหลีกเลี่ยงประเด็นปัญหาการลอกเลียนงานของตัวเองเมื่อจะเขียนงาน ใหม่ ควรอย่างยิ่งที่จะพยายามปฏิบัติตามแนวทางที่ดีที่สุดต่อไปนี้ 1. แสดงข้อเท็จจริงทั้งหมด - อ้างไว้ในบทนำว่างานใหม่หรือส่วนของงานใหม่ได้รวมงานเดิมไว้ด้วยอย่างไร 2. ต้องให้แน่ใจว่าไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ผู้ใด (เช่น งานเดิมของตนอาจเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์ ฯลฯ) 3. อ้างอิงงานเดิมไว้ในอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายงานใหม่

2. การวิจัย Basic research - องค์ความรู้ใหม่ (impact factor, citation) Applied research - new inventions (patent : หิ้งสู่ห้าง; bench to bedside) สู่ชุมชน – พัฒนาคุณภาพชีวิต (หิ้งสู่ชุมชน) เป็นหน้าที่อีกอย่างหนึ่งที่ละเลยไม่ได้ เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและตนเอง ขอทุน เช่น ทุนคณะ ทุนมหาวิท. ทุนสกว (ทุนหลังปริญญาเอก) การตีพิมพ์ ระวัง หลีกเลี่ยง plagiarism หมายถึง การลอกงานเขียน ความคิดหรืองานสร้างสรรค์ดั้งเดิมทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบ เหมือนงานดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง สำหรับผู้เขียนที่ประสงค์ที่จะหลีกเลี่ยงประเด็นปัญหาการลอกเลียนงานของตัวเองเมื่อจะเขียนงาน ใหม่ ควรอย่างยิ่งที่จะพยายามปฏิบัติตามแนวทางที่ดีที่สุดต่อไปนี้ 1. แสดงข้อเท็จจริงทั้งหมด - อ้างไว้ในบทนำว่างานใหม่หรือส่วนของงานใหม่ได้รวมงานเดิมไว้ด้วยอย่างไร 2. ต้องให้แน่ใจว่าไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ผู้ใด (เช่น งานเดิมของตนอาจเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์ ฯลฯ) 3. อ้างอิงงานเดิมไว้ในอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายงานใหม่

3. บริการวิชาการ เป็นอาจารย์/วิทยากร พิเศษ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม นอก ม. จัดโครงการอบรมต่างๆ (ช่วยภาควิชา, คณะ) การทำงานเพื่อรับใช้สังคม

4. ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เข้าร่วมงานต่างๆ ที่ทำนุบำรุงประเพณีที่ดีงาม งานไหว้ครู งานตักบาตร งานสงกรานต์ อื่นๆ

การขอตำแหน่งวิชาการ

หลักเกณฑ์การพิจารณาแต่งตั้งในดำรงตำแหน่งวิชาการ คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ผลการสอน ผลงานทางวิชาการ จริยธรรมและจรรยาบรรณ

คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ผ.ศ. ป ตรี ป โท 5 ปี ป.เอก, วุฒิบัตร 2 ปี หลักสูตร 4 ปี -- 9 ปี 5 ปี--- 7 ปี 6 ปี--- 5 ปี ร.ศ. --------- ผ.ศ. 3 ปี ศ. --------- ร.ศ. 2 ปี

คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ผ.ศ. ป ตรี ป โท 3 ปี ป.เอก, วุฒิบัตร ทันทีที่ผ่านการประเมิน หลักสูตร 4 ปี -- 7 ปี 5 ปี--- 5 ปี 6 ปี--- 3 ปี ร.ศ. --------- ผ.ศ. 2 ปี ศ. --------- ร.ศ. 1 ปี

งานที่ใช้ขอตำแหน่งวิชาการ งานสอน งานทางวิชาการ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ

งานสอน มีชั่วโมงสอนประจำรายวิชา ต้องเป็นวิชาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน ที่ ใช้ประกอบการสอนมาแล้วตามภาระงานสอน กรณีร่วมกันสอนเสนอทุกหัวข้อที่สอน

เอกสารสำหรับงานสอน เอกสารประกอบการสอน -- ผ.ศ. เอกสารคำสอน -- ร.ศ./ ศ.

เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน แผนการสอน วัตถุประสงค์ วิธีการสอน กิจกรรม การประเมินผล หนังสืออ้างอิง เนื้อหา

งานทางวิชาการ งานวิจัย (ที่ไม่เป็นส่วนหนึ่งในของการศึกษาเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรใด) งานวิชาการรับใช้สังคม(ผลงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติหน้าที่ตาม ภาระงานซึ่งสถาบันอุดมศึกษาหรือคณะวิชาให้ความเห็นชอบ และได้รับการเผยแพร่ตาม เกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด รวมทั้งได้รับการรับรองการใช้ประโยชน์ต่อสังคม โดยปรากฏผล ที่สามารถประเมินได้เป็นรูปธรรมโดยประจักษ์ต่อสาธารณะ) งานทางวิชาการในลักษณะอื่นๆ ตำรา/หนังสือ/บทความทางวิชาการ

ผลงานทางวิชาการ ตำแหน่งวิชาการ ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการรับใช้สังคม ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คุณภาพ ดี หรือ + บทความทางวิชาการ คุณภาพดี รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์ แบบที่ ๑ ดีมาก แบบที่ ๒ คุณภาพดีเด่น ดีเด่น

งานวิจัย คำนิยาม รูปแบบ

คุณภาพ

ผลงานวิชาการในลักษณะอื่น คำนิยาม

รูปแบบ

การเผยแพร่

คุณภาพ

บทความทางวิชาการ คำนิยาม รูปแบบ

การเผยแพร่

หนังสือ คำนิยาม รูปแบบ

การเผยแพร่

ตำรา คำนิยาม

รูปแบบ

การเผยแพร่

คุณภาพ

การมีส่วนร่วมในผลงานวิชาการ

การมีส่วนร่วมในผลงานวิชาการ

การมีส่วนร่วมในผลงานวิชาการ

แบบแสดงหลักฐานการมีส่วนร่วมในผลงานทางวิชาการ □ บทความทางวิชาการ □ ตำรา □ หนังสือ ■ งานวิจัย □ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ชื่อเรื่อง ……………………………………………………………………………………. ตีพิมพ์ในวารสารชื่อ ………………………………. เล่มที่ ..................... หน้า ……….. ปีค.ศ. ………… ผู้ร่วมงาน จำนวน ……… คน แต่ละคนมีส่วนร่วมดังนี้ ลงชื่อ………………………………………………… ลงชื่อ...................................................................... ชื่อผู้ร่วมงาน ปริมาณงานร้อยละ หน้าที่ความรับผิดชอบ ………………. ……… ผู้ร่วมวิจัย ทำงานวิจัยในส่วน ………. และรวบรวม data แปลผล อภิปรายผล …….. ………………….. หัวหน้าโครงการ รับผิดชอบงานวิจัย วางแผน อภิปรายผล และเตรียมต้นฉบับเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่

จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ

จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ

เอกสารผลงาน แบบ กพอ 03 เอกสารประกอบการสอน/คำสอน ข้อมูลของผู้ขอรับประเมินผลการสอน เอกสารรับรองภาระงานสอน แบบรับรองจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ   ผลงานทางวิชาการ

ผู้ขอมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ปกติ วิธีพิเศษ ผู้ขอมีคุณสมบัติต่างไป เช่น วิธีปกติ/วิธีพิเศษ วิธีปกติ ผู้ขอมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ปกติ วิธีพิเศษ ผู้ขอมีคุณสมบัติต่างไป เช่น ระยะเวลาไม่ครบ เสนอขอข้ามขั้น หรือเปลี่ยนสาขา

ขอให้โชคดี