การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน คืออะไร ???
การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็นเครื่องมือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญเช่นเดียวกับการศึกษาและการฝึกอบรมโดยมีความสำคัญในแง่มุมของการปรับเงินเดือน การเลื่อนขั้นตำแหน่ง
ความหมายการประเมินผลการปฏิบัติงาน - คือการตีค่าของพนักงานจากผลการปฏิบัติงานทำงานผ่านมาแล้ว - คือการวินิจฉัยค่าของผลงานพนักงานเมื่อเปรียบกับมาตรฐานการปฏิบัติงาน(Job Description) - เป็นการใช้เครื่องมือเพื่อการตีราคาของผลงาน เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ความหมายการประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็นกระบวนการที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อวัดคุณค่า ขีดความสามารถ ความรู้ ทัศนคติของแต่ละคน ที่มีต่อองค์กรและการปฏิบัติงาน เป็นวิธีการในการบริหารงานบุคคล เป็นเครื่องมือหลักในการควบคุมและกำกับคนเพื่อ ประสิทธิภาพและเป้าหมายในการทำงานขององค์กร
การประเมินผลการปฏิบัติงาน Roadmap of human resource appraisal มาตรฐาน การวัดผล การประเมิน ผลการวัด ดีสมควรได้รับการพิจาณาเลื่อนตำแหน่ง ผลงานต้องได้มาตรฐาน
สิ่งต้องการประเมิน คือสมรรถนะ(Competency )ของพนักงานประกอบไปด้วย ความรู้ (Knowledge)ที่เกี่ยวกับงานในหน้าที่ ทักษะ (Skill) คือสิ่งที่องค์กรต้องการให้ “ทำ” เช่นทักษะด้าน ICT เป็นสิ่งที่ต้องผ่านการเรียนรู้ และฝึกฝนเป็นประจำจนเกิดเป็นความชำนาญในการใช้งาน พฤตินิสัยที่พึงปรารถนา (Attiributes) คือสิ่งที่องค์กรต้องการให้เป็น” เช่น ความใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ ความรักในองค์กร และความมุ่งมั่นในความสำเร็จ ผลสัมฤทธิ์ ตามเป้าหมาย
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมินความสำเร็จตามภารกิจเป็นการประเมินภาพรวม 1. องค์การ การประเมินการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ 2. พนักงาน
หลักการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. ควรจะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ที่ดีขึ้น 2. ยึดเป้าหมายและมาตรฐานการประเมิน 3. ไม่ควรยึดเอาความรู้สึกส่วนตัวเป็นที่ตั้ง 4. มีระบบและแบบแผนที่แน่นอน
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1.การประเมินที่เน้นผลลัพธ์ของงาน 2.การประเมินโดยยึดเป้าหมายขององค์การเป็นหลัก 3. การประเมินโดยพนักงานมีส่วนร่วม
วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน การเคลื่อนไหวด้านกำลังคน จ่ายค่าตอบแทน ความเป็นธรรม ทางการบริหาร การจัดเก็บข้อมูล การพัฒนาและฝึกอบรม
ความสำคัญ ของการประเมินผลกาปฏิบัติงาน การบังคับบัญชา องค์การ พนักงาน การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา การกำหนดแผนงานด้านกำลังคน เป็นแนวทางการพัฒนาตนเอง
ประโยชน์ ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3. ด้านการวางแผน 4.การจ่ายค่าตอบแทน 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชา/ ผู้บริหาร วัตถุประสงค์เพื่อ - ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานของพนักงานทุกคนโดยรวม
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ผู้ประเมินผล การปฏิบัติงาน -ควบคุมการบริหาร - พัฒนาระบบการบริหารบุคลากร
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. ผู้ถูกประเมิน - เพื่อทราบจุดแข็งและจุดอ่อน - เพื่อรับเงินเดือนที่เหมาะสมกับศักยภาพของตนเอง
วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1.การกำหนดเกณฑ์ ผลงาน พฤติกรรมการปฏิบัติงาน 2.การวัด วัตถุประสงค์ ประเภทของงาน วิธีการประเมิน 3.การบริหาร เงินเดือน เลื่อนตำแหน่ง พัฒนา ให้ออกจากงาน
วิธีประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. การกำหนดนโยบาย ข้าราชการมีการประเมินผลปีละ 2 ครั้ง ตามปีงบประมาณ รอบที่ 1 1 ตุลาคม – 31 มีนาคม รอบที่ 2 1 เมษายน – 30 กันยายน การพิจารณาความดีความชอบโดยยึดผลการปฏิบัติงานเป็นหลักการที่สำคัญ
ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2. การวางแผนประเมิน 2.1 วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์และนโยบายขององค์การ 2.2 กำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน เพื่อเลื่อนเงินเดือนประจำปี, การจ่ายโบนัส, การเลื่อนตำแหน่ง,การให้พ้นจากงานหรือตำแหน่ง 2.3 กำหนดระยะเวลาในการประเมิน จะกำหนดไว้ตายตัว,ประเมินเป็นระยะๆ, รวมทั้งกำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผล
ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. การกำหนดตัวชี้วัดและปัจจัยที่จะประเมิน 3.1 ตัวชี้วัด และการกำหนดปัจจัยที่จะประเมิน ตัวชี้วัดหมายถึง ค่าที่สังเกตได้ ซึ่งใช้วัดหรือสะท้อนลักษณะการบริหารงานบุคคล การกำหนดปัจจัยที่จะประเมินหมายถึงสิ่งที่ต้องการจะวัดและประเมินผลการปฏิบัติงาน เช่น วัดความรู้,ทักษะและพฤติกรรมที่องค์การพึงประสงค์
ปัจจัยในการประเมินผลการปฏิบัติงานตัวชี้วัด คุณภาพของงาน ผลิตได้ตรงมาตรฐานเปรียบเทียบ ปริมาณงาน -เป้าหมายของปริมาณงาน - ตรงตามคำสั่งของลูกค้า ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน งานเสร็จทันเวลาที่กำหนดตามเวลาที่ลูกค้า นัดหมาย
ตัวอย่างการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตัวอย่างวิธีการประเมิน ตามค่าคะแนน
การนำผลการประเมินไปใช้