งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แนวความคิดของการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นเครื่องมือ ที่มีความสำคัญต่อกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์

2 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
Roadmap of human resource appraisal การประเมิน การวัดผล ผลการวัด ผลงานได้มาตรฐาน ดีสมควรได้รับการพิจาณาเลื่อนตำแหน่ง

3 การประเมินผลการปฏิบัติงานคืออะไร
- คือการตีค่าของพนักงานจากผลการปฏิบัติงานทำงานผ่านมาแล้ว - คือการวินิจฉัยค่าของผลงานพนักงานเมื่อเปรียบกับมาตรฐานการปฏิบัติงาน(JD.)

4 - เป็นการใช้เครื่องมือเพื่อการตีราคาของผลงาน เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์

5 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
สิ่งต้องการประเมิน คือสมรรถนะ(Competency )ของพนักงานประกอบไปด้วย ความรู้ (Knowledge)ที่เกี่ยวกับงานในหน้าที่และสิ่งที่เกี่ยวข้องงานในหน้าที่ ทักษะ (Skill) คือสิ่งที่องค์กรต้องการให้ “ทำ” เช่นทักษะด้าน ICT ทักษะด้านเทคโนโลยีการบริหารสมัยใหม่ เป็นสิ่งที่ต้องผ่านการเรียนรู้ และฝึกฝนเป็นประจำจนเกิดเป็นความชำนาญในการใช้งาน พฤตินิสัยที่พึงปรารถนา (Attiributes) คือสิ่งที่องค์กรต้องการให้ “เป็น” เช่น ความใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ ความรักในองค์กร และความมุ่งมั่นในความสำเร็จ ผลสัมฤทธิ์ ตามเป้าหมาย

6 ประเมินความสำเร็จตามภารกิจเป็นการประเมินภาพรวม 1. องค์การ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมินความสำเร็จตามภารกิจเป็นการประเมินภาพรวม 1. องค์การ การประเมินการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ 2. พนักงาน

7 4. มีระบบและแบบแผนที่แน่นอน
หลักการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. ควรจะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ดีขึ้น 2. ยึดเป้าหมายและมาตรฐานการประเมิน 3. ไม่ควรยึดเอาความรู้สึกส่วนตัวเป็นที่ตั้ง 4. มีระบบและแบบแผนที่แน่นอน

8 แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.การประเมินที่เน้นผลลัพธ์ของงาน 2.การประเมินโดยยึดเป้าหมายขององค์การเป็นหลัก 3. การประเมินโดยพนักงานมีส่วนร่วม

9 ความเป็นธรรมทางการบริหาร
วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน การเคลื่อนไหวด้านกำลังคน การพัฒนาและฝึกอบรม จ่ายค่าตอบแทน การจัดเก็บข้อมูล ความเป็นธรรมทางการบริหาร

10 ความสำคัญของการประเมิน
การบังคับบัญชา พนักงาน องค์การ การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้อยู่ใต้การบังคับบัญชา เป็นแนวทางการพัฒนาตนเอง การกำหนดแผนงานด้านกำลังคน

11 ประโยชน์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ประโยชน์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน วางแผน 3.การจ่ายค่าตบแทน 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

12 1.ผู้ถือหุ้นหรือ เจ้าของกิจการ
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการปฏิบัติงานทางธุรกิจ 1.ผู้ถือหุ้นหรือ เจ้าของกิจการ วัตถุประสงค์เพื่อ - ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานของพนักงานทุกคนโดยรวม

13 วัตถุประสงค์ใช้เป็นข้อมูล
2. ผู้ประเมินผล การปฏิบัติงาน - กำหนดค่าตอบแทน วัตถุประสงค์ใช้เป็นข้อมูล -ควบคุมการบริหาร - พัฒนาระบบการบริหารบุคลากร

14 -เพื่อทราบจุดแข็งและจุดอ่อน
3. ผู้ถูกประเมิน มีวัตถุประสงค์ -เพื่อทราบจุดแข็งและจุดอ่อน -เพื่อรับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับศักยภาพของตนเอง

15 ขั้นตอนการบริหารการประเมินผลปฏิบัติงาน
1.การกำหนดนโยบาย ข้าราชการมีการประเมินผลปีละ 2 ครั้ง -การพิจารณาความดีความชอบโดยยึดผลการปฏิบัติงานเป็นหลักการที่สำคัญ

16 2 การวางแผนประเมิน 2.1 วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์และนโยบายขององค์การ 2.2 กำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน เพื่อเลื่อนเงินเดือนประจำปี, การจ่ายโบนัส, การเลื่อนตำแหน่ง,การให้พ้นจากงานหรือตำแหน่ง 2.3 กำหนดระยะเวลาในการประเมิน จะกำหนดไว้ตายตัว,ประเมินเป็นระยะๆ, รวมทั้งกำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผล

17 3. การกำหนดตัวชี้วัดและปัจจัยที่จะประเมิน
3.1 ตัวชี้วัด และการกำหนดปัจจัยที่จะประเมิน ตัวชี้วัดหมายถึง ค่าที่สังเกตได้ ซึ่งใช้วัดหรือสะท้อนลักษณะการบริหารงานบุคคล การกำหนดปัจจัยที่จะประเมินหมายถึงสิ่งที่ต้องการจะวัดและประเมินผลการปฏิบัติงาน เช่น วัดความรู้,ทักษะและพฤติกรรมที่องค์การพึงประสงค์

18 ปัจจัยในการประเมินผลการปฏิบัติงานตัวชี้วัดและเกณฑ์การเทียบวัด
Benchmarking คุณภาพของงาน ผลิตได้ตรงมาตรฐานเปรียบเทียบ มาตรฐานอุตสาหกรรม ปริมาณงาน -เป้าหมายของปริมาณงาน - ตรงตามคำสั่งของลูกค้า เป้าหมายขององค์การและใบสั่งซื้อของลูกค้า ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน งานเสร็จทันเวลาที่กำหนดตามเวลาที่ลูกค้า นัดหมาย เปรียบเทียบกับบุคคลอื่นใบนัดหมายของลูกค้าหรือเวลามาตรฐานของหน่วยงาน

19 3.2 วิธีการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของพนักงาน
3.2 วิธีการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของพนักงาน การศึกษาการทำงานของพนักงานในกระบวนการผลิต การกำหนดจากทำงานของพนักงานแต่ละบุคคลในแต่ละชั่วโมงหรือในแต่ละวัน

20 ผลงานและพฤติกรรมการทำงาน
4. การกำหนดเกณฑ์การประเมิน 3 แนวทางคือ ผลงาน พฤติกรรมการทำงาน ผลงานและพฤติกรรมการทำงาน ผลลัพธ์สุดท้ายของการปฏิบัติงาน - เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ - ความชำนาญ ความคิดริเริ่ม ความพยายามในการปฏิบัติงาน การให้ความร่วมมือในการทำงาน เป็นการประเมินแบบผสมผสาน

21 ผู้บังคับบัญชาโดยตรง
5. การกำหนดผู้ทำการประเมิน ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย ผู้บังคับบัญชาโดยตรง เป็นผู้ที่มีความใกล้ชิดกับผู้ถูกประเมินมากที่สุด

22 ผู้อยู่ใต้การบังคับบัญชา
การกำหนดผู้ทำการประเมิน(ต่อ) ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย ผู้อยู่ใต้การบังคับบัญชา ทราบลักษณะการบริหารของผู้บังคับบัญชา เป็นเช่นใด เผด็จการประชาธิปไตย หรืออื่น ๆ

23 ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย เพื่อนร่วมงาน
การกำหนดผู้ทำการประเมิน(ต่อ) ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย เพื่อนร่วมงาน เป็นกลุ่มที่มีความรอบรู้เกี่ยวกับผู้ถูกประเมินแต่จะต้อง มีเงื่อนไขความเป็นทีมที่ดีต่อกันและมีความเป็นธรรม

24 ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย การกำหนดผู้ทำการประเมิน(ต่อ)
การประเมินตัวเอง เป็นวิธีการที่ดี แต่จะต้องมีความซื่อสัตย์และมีหลักฐาน เช่น ต้องมีแฟ้มสะสมผลงานประกอบการประเมิน

25 การประเมินโดยกลุ่มหรือคณะกรรมการ
การกำหนดผู้ทำการประเมิน(ต่อ) ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย การประเมินโดยกลุ่มหรือคณะกรรมการ เพื่อการใช้วิจารณญาณของบุคคลหลายกลุ่ม เช่น ผู้บังคับบัญชาจากหน่วยงานอื่น หรือบุคคลที่มีความเหมาะสมในเป็นคณะกรรมการทำการประเมิน

26 ผู้ประเมิน เงื่อนไข ข้อดี-ข้อเสีย การกำหนดผู้ทำการประเมิน(ต่อ) ลูกค้า
ส่วนใหญ่มักจะใช้การประเมินในธุรกิจบริการที่ต้อง ตอบสนองความต้องการของลูกค้า เช่น งานธนาคาร โรงแรม หรือธุรกิจบริการอื่น ๆ

27 6.การเลือกเทคนิคหรือวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
6.1 การประเมินด้านพฤติกรรมการแสดงออกด้วยการกระทำ ตัวชี้วัด:ความกระตือรือร้น การวางแผน การวางระบบการปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบ

28 ความกระตือรือร้นในการทำงาน ตัวชี้วัด : ทำงานทันที่ที่ได้รับมอบหมาย
ตัวชี้วัด : ทำงานทันที่ที่ได้รับมอบหมาย : ความรีบเร่งในการทำงาน ความเอาใจใส่ต่องานที่รับผิดชอบ คอยติดตามงานที่ได้รับมอบหมายอยู่เสมอ ตัวชี้วัด :

29 เทคนิคการประเมินด้านพฤติกรรม
การใช้เครื่องมือในการประเมิน

30 ประเมินด้วยขีดขนาดมาตรา
ดูหน้าที่ 220 ประกอบ ความคิดริเริ่ม ตัวชี้วัด: การเสนอผลงานใหม่ๆ มีการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ

31 การอธิบายจะคำบรรยายแบบปลายเปิด
การประเมินแบบพรรณนา ดูหน้าที่ 221 ประกอบ การอธิบายจะคำบรรยายแบบปลายเปิด

32 การประเมินแบบจับคู่เปรียบเทียบ
ดูหน้าที่ 222 ประกอบด้วย

33 การประเมินโดยตรวจสอบพฤติกรรม
ดูหน้าที่ 224 ประกอบ

34 การประเมินโดยวิธีการกระจายเป็นกลุ่ม
ดูหน้าที่ 225 ประกอบ

35 6.2 การประเมินโดยเน้นผลลัพธ์
4.2.1 พิจารณาจากเป้าหมายที่กำหนด -KPI : Key Performance Indicator - วัตถุประสงค์

36 ปัญหาการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1. ปัญหาด้านวิสัยทัศน์ของผู้เกี่ยวข้อง ผู้ประเมิน ผู้ถูกประเมิน ผู้ใช้ผลการประเมิน นักวิชาการผู้สนใจการประเมิน 2.ปัญหาด้านเทคนิควิธีการประเมิน แหล่งข้อมูลการประเมิน ตัวแปรหรือดัชนีที่จะวัดเพื่อการประเมิน วิธีวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือที่ใช้วัดและเก็บข้อมูล

37 ปัญหาการประเมินผลการปฏิบัติงาน(ต่อ)
4.อื่นฯที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน การตระหนักในคุณค่าของการประเมิน การใช้วิธีการประเมิน ความมีอคติส่วนตัวของผู้ทำการประเมินมีความสำคัญ ขาดความร่วมมือจากผู้ถูกประเมิน 3. ปัญหาปัจจัยพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการประเมินผลการปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ สื่อ อุปกรณ์และคู่มือ แผนการปฏิบัติงาน


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google