สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ คณะกรรมการด้านวิชาการ และคณะอนุกรรมการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ป.ย.ป. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง เป็นส่วนที่ตั้งขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา.
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ คณะกรรมการด้านวิชาการ และคณะอนุกรรมการ นโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติ และแผนปฏิบัติการ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ตามพระราชบัญญัติ โรคติดต่อ พ.ศ.2558 สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ คณะกรรมการด้านวิชาการ และคณะอนุกรรมการ

วัตถุประสงค์ของการประชุม เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด 16 โปรแกรม 24 แผน เพื่อให้สำนักงานป้องกันควบคุมโรคจัดทำแผนปฏิบัติการ การถ่ายทอดและ ขับเคลื่อนวิธีปฏิบัติตามพรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 แก่คณะกรรมการโรคติดต่อ จังหวัดและคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร

กรอบการนำเสนอ วัตถุประสงค์การประชุม ความเป็นมาและการดำเนินงาน ตาม พรบ.โรคติดต่อพ.ศ.2558 โครงสร้างคณะกรรมการ (ร่าง)นโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติและแผนปฏิบัติการ การดำเนินการ เรื่องพิจารณา

ความเป็นมา & การดำเนินงาน พรบ.โรคติดต่อ ๒๕๒๓: - ต้องพัฒนา ปรับปรุงกฎหมาย ให้ทันต่อสภาวการณ์ - กฎอนามัยระหว่างประเทศ ๒๕๔๘ พรบ. โรคติดต่อ ๒๕๕๘: - ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๘ ก.ย. ๕๘ - ผลบังคับ: ตั้งแต่ ๖ มี.ค. ๕๙ การดำเนินงาน: - คกก. ดำเนินงานรองรับ พรบ. โรคติดต่อ ๒๕๕๘ - สนง. เลขานุการ คณะกรรมการ ฯ

มีทั้งหมด 60 มาตราแบ่งเป็น 9 หมวดได้แก่ การบังคับใช้ของพ.ร.บ. มีทั้งหมด 60 มาตราแบ่งเป็น 9 หมวดได้แก่ หมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ หมวด 3 คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด หมวด 4 คณะกรรมการโรคติดต่อ กรุงเทพมหานคร หมวด 5 การเฝ้าระวังโรคติดต่อ หมวด 6 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ หมวด 7 เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ หมวด 8 ค่าทดแทน หมวด 9 บทกำหนดโทษ และบทเฉพาะกาล

คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ คณะกรรมการ ด้านวิชาการ โครงสร้างส่วนกลาง คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ รัฐมนตรี คณะกรรมการ ด้านวิชาการ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

โครงสร้างส่วนจังหวัด คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ รัฐมนตรี คณะกรรมการ ด้านวิชาการ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/กทม เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ คณะทำงานประจำ ช่องทางเข้าออก ผู้ว่าราชการจังหวัด เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ

โครงสร้างคณะกรรมการ ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 โครงสร้างคณะกรรมการ ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ รมว.สธ ประธานคณะกรรมการ อธิบดีกรมควบคุมโรค กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานคณะกรรมการ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด กรรมการและเลขานุการ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ประธานคณะกรรมการ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย กรรมการและเลขานุการ คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ อย่างน้อยอำเภอละ 1 หน่วย ขรก.ที่รับผิดชอบช่องทางเข้าออก ประธานคณะทำงาน จพง.ควบคุมโรคที่รับผิดชอบ คณะทำงานและลขานุการ

องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ คณะกรรมการ ตามพรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558

คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ (30 คน) มาตรา 11 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประธานคณะกรรมการ อธิบดีกรมควบคุมโรค กรรมการและเลขานุการ ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อทั่วไป/สำนักระบาด กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ สำนักงานเลขานุการคกก. กรรมการ กรรมการโดยตำแหน่ง 18 คน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 4 คน กรรมการจากสภาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง 4 คน -ปลัดกระทรวง กห,ตป,คม,มท,รง,ศธ,สธ -เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา -ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อธิบดีกรม พ./กรม อ./กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ อธิบดีกรม ปภ อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น อธิบดีกรมอุทยานแห่งขาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ปลัดกรุงเทพมหานคร -รมว.สธ.แต่งตั้งจากผู้มีความรุ้ ความเชียวชาญ และมีประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ ในด้านการสาธารณสุข การควบคุมโรค และด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ -ต้องแต่งตั้งจากองค์กรพัฒนาเอกชนซึ่งมิใช่เป็นการแสวงหาผลกำไรและดำเนินกกิจกรรมด้านสาธารณสุข อย่างน้อย 1 คน -ผู้แทนแพทยสภา -ผู้แทนสภาการพยาบาล -ผู้แทนสภาเทคนิคการแพทย์ -ผู้แทนสมาคมโรงพยาบาลเอกชน

คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ (มาตรา 14) 3 1 2 กำหนดนโยบาย วางระบบ และแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ และแนวทางปฏิบัติ เพื่อปฏิบัติตาม พรบ.นี้ 4 พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด และเสนอ ครม.ให้ความเห็นชอบ ให้คำปรึกษา แนะนำ และประสานงานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชน เกี่ยวกับการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ 7 5 6 8 แต่งตั้งกรรมการด้านวิชาการหรือคณะอนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติการตาม พรบ.นี้ ติดตาม ประเมินผล และตรวจสอบการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐ คกก.โรคติดต่อจังหวัด/กทม. พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเบิกจ่ายชดเชย ค่าทดแทน ค่าตอบแทน หรือค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการดำเนินการเฝ้าระวัง สอบสวนโรค ป้องกันหรือควบคุมโรคติดต่อ ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ พรบ.นี้ หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอำนาจหน้าที่ หรือตามที่ ครม.มอบหมาย

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการวิชาการ (มาตรา16) คณะกรรมการวิชาการ (ไม่เกิน 8 คน) อำนาจหน้าที่ แต่งตั้งจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ตามมาตรา 11(4) ประธาน 1 ให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรีในการประกาศเขตติดโรค 2 ให้คำแนะนำแก่อธิบดีในการประกาศโรคระบาด 3 ให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรีหรืออธิบดีในการประกาศยกเลิกเมื่อสภาวการณ์ของโรคตาม (1)หรือ(2) แล้วแต่กรณี สงบลง หรือกรณีมีเหตุอันสมควร 4 ปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติมอบหมาย กรรมการโดยตำแหน่ง ผู้มีความรู้ ความเชียวชาญ และมีประสบการณ์ ในด้านโรคติดต่อ จำนวนไม่เกิน 7 คน

คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด (ไม่น้อยกว่า 16 คน) ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานคณะกรรมการ มาตรา 20 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด กรรมการและเลขานุการ ผู้ปฏิบัตงานป้องกันควบคุมโรค สสจ. (ไม่เกิน 2 คน) กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการ * กรรมการโดยตำแหน่ง 6 คน กรรมการจากหน่วยงานท้องถิ่น* 2 คน กรรมการจากหน่วยงานในสังกัด กสธ. 5 คน -ปลัดจังหวัด -ประชาสัมพันธ์จังหวัด -ปศุสัตว์จังหวัด -หัวหน้าสนง.ปภ.จังหวัด -ผอ.สคร.ที่รับผิดชอบในเขตจังหวัด -นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด -นายกเทศมนตรี 1 คน - นายกองค์การบริหารส่วนตำบล 1 คน -ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์หรือผู้อำนวยการโรงพยาบาลทั่วไป 1 คน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน 2 คน สาธารณสุขอำเภอ 2 คน กรรมการจากสถานพยาบาล - จังหวัดใดมี รพ.ในสังกัดหน่วยงานของรัฐอื่นนอกจากมาตรา 20(4) ให้แต่งตั้ง ผอ.รพ.ในสังกัดหน่วยงานนั้น ไม่เกิน 3 คน - จังหวัดใดมีด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ให้แต่งตั้ง จพง.ควบคุมโรคติดต่อประจำด่านฯ แห่งละ 1 คน ผู้รับผิดชอบช่องทางเข้าออกประจำด่าน แห่งละ 1 คน -ผู้ดำเนินการสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล 1 คน * กรรมการซึ่ง ผวจ.แต่งตั้ง

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด (มาตรา 22) 1 ดำเนินการตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ที่คณะกรรมการกำหนด 2 จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาดในเขตพื้นที่จังหวัด 3 รายงานสถานการณ์โรคติดต่อหรือโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่อาจเป็นโรคระบาดซึ่งเกิดขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดต่ออธิบดีกรมควบคุมโรค 4 สนับสนุน สงเสริม ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในจังหวัดแล้วรายงานต่อคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ 5 แต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออกตามมาตรา 23 ในกรณีที่จังหวัดนั้นมีด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ 6 เรียกให้บุคคลใดๆมาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็น หรือให้จัดส่งข้อมูลหรือเอกสารใดๆที่จำเป็นหรือข้อคิดเห็นมาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณา 7 ดำเนินการอื่นใดที่เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อตามที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติหรือ ผวจ.มอบหมาย หรือตามที่บัญญัติไว้ในพรบ.นี้

* กรรมการซึ่ง ผวจ.แต่งตั้ง องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร (26 คน) มาตรา 26 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ประธานคณะกรรมการ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย กรรมการและเลขานุการ ขรก.สังกัดสำนักอนามัย (ไม่ต่ำกว่า ผอ.กอง) (ไม่เกิน 2 คน) กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการ * กรรมการซึ่ง ผวจ.แต่งตั้ง กรรมการจาก รพ.สังกัดหน่วยงานอื่นของรัฐ* 5 คน กรรมการโดยตำแหน่ง 6 คน กรรมการจาก รพ.* 2 คน -ผอ.รพ.ในสังกัดหน่วยงานของรัฐ นอกจากมาตรา 26(3) จำนวนไม่เกิน 5 คน -ปลัดกรุงเทพมหานคร -ผู้แทนสำนักงานปลัด มท. -ผู้แทนกรมควบคุมโรค -ผู้แทนกรมประชาสัมพันธ์ -ผู้แทนกรมปศุสัตว์ -ผู้แทนกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน -ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ กทม. -ผู้อำนวยการสนง.ปภ.กทม. -ผู้อำนวยการ รพ.สังกัดสภากาชาดไทยในเขต กทม. -ผอ.รพ.ในสังกัด กทม. 1 คน -ผอ.รพ.ในสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 1 คน กรรมการจาก สนง.เขตพื้นที่การศึกษา * 5 คน กรรมการจากสถานพยาบาล -ผอ.สนง.เขตพื้นที่การศึกษาใน กทม.จำนวน 1 คน -ผู้ดำเนินการสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล 1 คน - จพง.ควบคุมโรคติดต่อประจำด่านฯ ในเขต กทม.แห่งละ 1 คน - ผู้รับผิดชอบช่องทางเข้าออกประจำด่าน ในเขต กทม. แห่งละ 1 คน * กรรมการซึ่ง ผวจ.แต่งตั้ง

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร (มาตรา 28) 1 ดำเนินการตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ที่คณะกรรมการกำหนด 2 จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาดในเขตพื้นที่กทม. 3 รายงานสถานการณ์โรคติดต่อหรือโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่อาจเป็นโรคระบาดซึ่งเกิดขึ้นในเขตพื้นที่กทม.ต่ออธิบดีกรมควบคุมโรค 4 สนับสนุน สงเสริม ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกทม.แล้วรายงานต่อคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ 5 แต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออกตามมาตรา 23 6 เรียกให้บุคคลใดๆมาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็น หรือให้จัดส่งข้อมูลหรือเอกสารใดๆที่จำเป็นหรือข้อคิดเห็นมาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณา 7 ดำเนินการอื่นใดที่เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อตามที่คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติหรือ ผวจ.มอบหมาย หรือตามที่บัญญัติไว้ในพรบ.นี้

* กรรมการซึ่ง ผวจ.แต่งตั้ง องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของคณะทำงาน ประจำช่องทางเข้าออก คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก (ไม่น้อยกว่า 8 คน) มาตรา 23 จนท.ของรัฐที่รับผิดชอบช่องทางเข้าออก ประธานคณะทำงาน จพง.ควบคุมโรคติดต่อที่รับผิดชอบ คณะทำงานและเลขานุการ คณะทำงาน * กรรมการซึ่ง ผวจ.แต่งตั้ง อื่นๆ คณะทำงานโดยตำแหน่ง 5 คน คณะทำงานจาก รพ.* 2 คน -ช่องทางเข้าออกใดมีผู้แทนจากหน่วยงานของรัฐปฏิบัติหน้าที่ในช่องทางเข้าออกน้อยกว่าตามที่กำหนด ให้ คทง.ประกอบด้วยผู้ แทนเท่าที่มีอยู่ -ช่องทางเข้าออกใดมีผู้แทนจากหน่วยงานของรัฐปฏิบัติหน้าที่ในช่องทางเข้าออกมากกว่าตามที่กำหนด ให้ คณะกรรมการประกาศกำหนดเพิ่มเติมจากจำนวนที่มีอยู่ -ผุ้แทนกรมปศุสัตว์ -ผู้แทนกรมวิชาการเกษตร -ผู้แทนกรมศุลกากร -ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา -ผู้แทนสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (ปฏิบัติหน้าที่ในช่องทางเข้าออกนั้น) -ผอ.รพ.ในสังกัดหน่วยงานของรัฐที่ดูแลรับผิดชอบช่องทางเข้าออกนั้น 1 คน

อำนาจหน้าที่ของ คณะทำงาน ประจำช่องทางเข้าออก (มาตรา 24) 1 จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศและแผนเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข 2 ประสาน สนับสนุน และติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนในข้อ 1 3 จัดทำแผนการติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ 4 ดำเนินการอื่นใดที่เกี่ยวกับการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อตามที่คณะกรรมการหรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดมอบหมาย

คกก. ดำเนินงานรองรับ พรบ.โรคติดต่อ ฯ ขั้นตอนการดำเนินงาน คกก. โรคติดต่อแห่งชาติ รมว.สธ. ปธ./อธด.คร. เลขาฯ คณะรัฐมนตรี คกก. ดำเนินงานรองรับ พรบ.โรคติดต่อ ฯ กรมควบคุมโรค นโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติ แผนปฏิบัติการ อนุบัญญัติ น จังหวัด คกก.โรคติดต่อจังหวัด - (ร่าง) - นโยบาย - ระบบ - แผนปฏิบัติการ - แนวทางปฏิบัติ - อนุบัญญัติ ฯ กทม. คกก.โรคติดต่อกทม. สนง. เลขานุการ คกก. พรบ.โรคติดต่อ ฯ ช่องทางฯ คทง.ประจำช่องทางฯ ปัญหา /อุปสรรค ข้อเสนอแนะ

ข้อกำหนดของ พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 นโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติ แผนปฏิบัติการ

ความเชื่อมโยงระหว่าง นโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติ ความเชื่อมโยงระหว่าง นโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติ และแผนปฏิบัติการโรคติดต่อ Detect นโยบาย ระบบสนับสนุน ประสานงาน บริหารจัดการ และประเมินผล Prevent Respond

Prevention Programs RDCP Care EOC หน่วยปฏิบัติการฯ สื่อสารความเสี่ยง Public Health Laboratory Reporting Point of Entry Surveillance Prevention Programs RDCP Care EOC หน่วยปฏิบัติการฯ สื่อสารความเสี่ยง กลไกการสนับสนุน และการบริหารจัดการ การติดตามประเมินผล กำลังคน

ความเชื่อมโยงระหว่าง นโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติและแผนปฏิบัติการ ความเชื่อมโยงระหว่าง นโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติและแผนปฏิบัติการ นโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติ แผนปฏิบัติการ ป้องกันโรค โปรแกรม เป้าหมาย – ตัวชี้วัด - แผนปฏิบัติการ ตรวจจับ Lab เฝ้าระวัง ด่าน ควบคุมโรค Care EOC สื่อสาร สนับสนุน ประสาน & จัดการ กำลังคน M&E Impact หลักการ วิธีการ

(ร่าง) นโยบายการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ เร่งรัดการกำจัด และกวาดล้างโรค พัฒนาระบบการป้องกันโรคติดต่ออันตราย ควบคุมโรคติดต่อประจำถิ่น ลดการตีตรา หรือเลือกปฏิบัติ

(ร่าง) นโยบาย เร่งรัดการกวาดล้างโรคโปลิโอ เร่งรัดการกำจัด และกวาดล้างโรคที่เป็นพันธะสัญญากับนานาชาติ และโรคที่ประเทศไทยสามารถควบคุมได้ดีระดับหนึ่งแล้ว เร่งรัดการกวาดล้างโรคโปลิโอ เร่งรัดการกำจัดโรคเอดส์ มาลาเรีย โรคเรื้อน หัด พิษสุนัขบ้า และโรค เท้าช้าง พัฒนาระบบการป้องกันโรคติดต่ออันตรายอย่างเต็มที่ เพื่อลดโอกาสการระบาดของ โรคติดต่ออันตรายในประเทศไทยให้เหลือน้อยที่สุด ควบคุมโรคติดต่อประจำถิ่น (ได้แก่ ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ มือเท้าปาก วัณโรค โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคติดต่อจากสัตว์สู่คน โรคที่เกิดจากจุลชีพดื้อยา โรคติดต่ออุบัติใหม่ และโรคติด เชื้อในโรงพยาบาล) ด้วยมาตรการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้โรคติดต่อประจำถิ่น ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะของประชาชนให้น้อยที่สุด ลดการตีตรา หรือเลือกปฏิบัติ ต่อผู้ป่วยโรคติดต่อทุกชนิด

(ร่าง) นโยบาย โดยการดำเนินการดังกล่าวอาศัย พัฒนาสมรรถนะระบบงานควบคุมโรคตามกฎอนามัย ระหว่างประเทศ และวาระความมั่นคงด้านสุขภาพโลก อย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างความมั่นคงด้านสุขภาพให้กับ สังคมไทยและสังคมโลก การพัฒนาให้ทุกจังหวัดมีสมรรถนะสูงเพียงพอที่จะเฝ้า ระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคและภัยต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมถึงโรคติดต่ออันตราย

(ร่าง) นโยบาย โดยการดำเนินการดังกล่าวอาศัย นำมาตรการป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพมาใช้ อย่างทั่วถึง พัฒนาระบบการตรวจจับโรคติดต่อให้มีความรวดเร็ว และแม่นยำ ดำเนินการควบคุมโรคติดต่ออย่างรวดเร็ว เป็นระบบ มีความเป็นเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย พัฒนา/ปรับปรุงระบบสนับสนุนการดำเนินงานและ บริหารจัดการ

กรอบการจัดทำนโยบาย ระบบและแผนปฏิบัติการ Prevent - 16 Detect - 3 Respond - 3 โรคโปลิโอ โรคเอดส์ มาลาเรีย โรคเรื้อน โรคหัด โรคพิษสุนัขบ้า โรคเท้าช้าง ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ มือเท้าปาก วัณโรค โรคที่เกิดจากจุลชีพดื้อยา โรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคติดต่อจากสัตว์สู่คน โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล และ............ Public Health Laboratory การรายงานโรค ด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ การเฝ้าระวังโรค การดูแลรักษาผู้ป่วย EOC หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ สื่อสารความเสี่ยง ระบบสนับสนุน - 3

ระบบป้องกันโรคติดต่อ การจัดการความรู้ การพัฒนาโปรแกรม 16 โปรแกรม การดำเนินงาน การติดตามประเมินผล ผลการวิจัย ผลการเฝ้าระวังโรค ผลการสอบสวนโรค แนวทางการป้องกันโรคของหน่วยงานอื่นๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ระบบการตรวจจับภัยจากโรคติดต่อ งานป้องกันควบคุมโรคระหว่างประเทศ หน่วยเฝ้าระวังโรค Collection ผู้ที่พบผู้ป่วย ผู้ให้การรักษาผู้ป่วย Analysis Descriptive Critical Information Risk Assessment Prediction ห้องปฏิบัติการทางสาธารณสุข Interpretation ACTION Dissemination

หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ ระบบควบคุมโรคติดต่อ เหตุการณ์ การดูแลรักษาผู้ป่วย หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ SAT ในภาวะปกติ สื่อสารความเสี่ยง EOC Activation

ระบบสนับสนุนฯ นโยบาย กลไกการติดตามและประเมินผล แผนปฏิบัติการ กลไกการสนับสนุน และบริหารจัดการ กลไกการติดตามและประเมินผล

แผนแม่บทพัฒนากำลังคน ระบบการพัฒนากำลังคน แผนแม่บทพัฒนากำลังคน Need Recruit Training Maintain

นโยบาย – ระบบ – แนวทางปฏิบัติ – แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการกำจัด และกวาดล้างโรคที่เป็นพันธะสัญญากับนานาชาติ และเป็นโรคที่ประเทศไทยสามารถควบคุมได้ระดับหนึ่งแล้ว 1.1 เร่งรัดการกวาดล้างโรคโปลิโอ 1.2 เร่งรัดการกำจัดโรคโรคมาลาเรีย โรคเรื้อน เอดส์ หัด พิษสุนัขบ้า และโรคเท้าช้าง พัฒนาระบบการป้องกันโรคติดต่ออันตรายอย่างเต็มที่ เพื่อลดโอกาสการระบาดของโรคติดต่ออันตรายในประเทศไทยให้เหลือน้อยที่สุด ควบคุมโรคติดต่อประจำถิ่น (ได้แก่ ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ มือเท้าปาก วัณโรค โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคติดต่อจากสัตว์สู่คน โรคที่เกิดจากจุลชีพดื้อยา โรคติดต่ออุบัติใหม่ และโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล) ด้วยมาตรการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้โรคติดต่อประจำถิ่นส่งผลกระทบต่อสุขภาวะของประชาชนให้น้อยที่สุด ลดการตีตรา หรือเลือกปฏิบัติ ต่อผู้ป่วยโรคติดต่อทุกชนิด ระบบ ป้องกันโรค ตรวจจับ ควบคุมโรค สนับสนุน/บริหารจัดการ นำมาตรการป้องกันโรคติดต่อที่มีประสิทธิภาพมาใช้อย่างทั่วถึง พัฒนาระบบการตรวจจับโรคติดต่อให้มีความรวดเร็วและแม่นยำ ดำเนินการควบคุมโรคติดต่ออย่างรวดเร็ว เป็นระบบ มีความเป็นเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย พัฒนา/ปรับปรุงระบบสนับสนุนการดำเนินงานและบริหารจัดการ แนวทางปฏิบัติ โปรแกรมป้องกันโรค 16 โปรแกรม Public Health Laboratory งานควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ การเฝ้าระวังโรค การดูแลรักษาผู้ป่วย Emergency Operations Center สื่อสารความเสี่ยง การสนับสนุนและการบริหารจัดการ การติดตามและประเมินผล การพัฒนากำลังคน โปลิโอ โรคเอดส์ โรคไข้เลือดออก แผนปฏิบัติการ

ขอบคุณครับ