การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การแบ่งกลุ่มวิเคราะห์ / ทบทวนการพัฒนาที่ ผ่านมา. ประเด็น ทบทวนต้นทุนเดิมในการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพ 1. กระบวนการพัฒนาที่ผ่านมา 2. จุดเด่นที่เป็นพลังในการ.
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา :  สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด  รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์  รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะที่ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
กลุ่มที่ 2 เด็กวัยเรียน.
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถานการณ์และผลการดำเนินงาน
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การเสียชีวิตของเด็กจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี จังหวัดพิษณุโลก
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
Cluster วัยเรียน ปีงบประมาณ 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ผลการดำเนินงาน การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน

Advocacy Activities Buliding Capacity Regulatory Partnership ☻ชี้แจงนโยบาย แนวทางการดำเนินงานแก่ จนท.สาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานวัยเรียนทุกระดับ ในเขตสุขภาพที่ 5 ☻พัฒนาศักยภาพเครือข่ายวัยเรียน ☻การพัฒนามาตราฐานประกันคุณภาพโรงเรียน ☻มีแผนงานโครงการ ควบคุม กำกับ โดย KPI ส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ☻การตรวจราชการ • การเยี่ยมเสริมพลัง สถานการณ์สุขภาพเด็กวัยเรียน (กลุ่ม ปกติ เสี่ยง ป่วย) คณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน ระดับเขต จังหวัดและอำเภอ ศึกษาธิการจังหวัด, สพป, สพฐ, สช องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Advocacy ☻การรณรงค์วันเด็กแห่งชาติ Love milk day ดื่มนม สดรสจืด ยืดความสูง วันละ 2 กล่อง กินไข่วันละ ฟอง , กินอาหารลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ หลากสี ออกกำลังกายวันละ 60 นาที 5 วันต่อ สัปดาห์ ☻ประสานผ่าน สสจ. สพป,สพฐ เพื่อเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร ผ่าน www.HPC5.GO.TH, line วัยเรียน ภาคกลาง,youtube Investment ชี้แนะแหล่งทุนให้กับเครือข่าย เช่น กองทุนตำบล สปสช, สสส

ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน ระดับประเทศ เปรียบเทียบ ปี 2559-2560 ข้อมูล HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2561 ปี 59 ต่ำกว่าค่าเป้าหมายระดับประเทศ (68) ร้อยละ 3.41 ปี 60 ร้อยละ 3.66

เด็กอายุ 12 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ เป้าหมาย เพศชายมีส่วนสูงเฉลี่ย 154 เซนติเมตร, เพศหญิง มีส่วนสูงเฉลี่ย 155 เซนติเมตร

แสดงภาวะทุพโภชนาการ อ้วน เตี้ย ผอม แสดงภาวะทุพโภชนาการ อ้วน เตี้ย ผอม ระดับประเทศ ปี 60

เปรียบเทียบเด็กเริ่มอ้วนและอ้วน ปี 59-60 ปี 60 อันดับ 1 ปี 59อันดับ 1 อ้วนเพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 0.86 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 61

กราฟวงกลม แยกทุพโภชนาการระดับประเทศ ข้อมูล HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 61

สูงดี สมส่วน ปี 60 เขตสุขภาพที่ 5 ร้อยละ 64.3 ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 66 สูงดี สมส่วน ปี 60 เขตสุขภาพที่ 5 ร้อยละ 64.3 ต่ำกว่าปี 59 ร้อยละ 0.29 และต่ำกว่าเป้าหมายเขต ร้อยละ 1.7 สูงสุดที่จังหวัดราชบุรี ร้อยละ 65.8 ต่ำสุดที่จังหวัดสมุทรสาคร ร้อยละ 61.55 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2561

เปรียบเทียบ อ้วน เตี้ย ผอม เขตสุขภาพที่ 5 ปี 2559-2560 ผอม เตี้ย ไม่เกิน ร้อย 5 ภาพรวมเขต อ้วนลดลงจากปี 59 ร้อยละ 0.87 ปี 60 อ้วนร้อยละ 13.63 อ้วนสูงสุด 3 จังหวัด ได้แก่ สมุทรสาคร, นครปฐม และสุพรรณบุรี ข้อมูล HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2561

สิ่งที่พบจากการตรวจราชการและเยี่ยมเสริมพลัง 1. ด้านข้อมูล ❀ ข้อมูลในระบบต่ำกว่าสถานการณ์จริง อาจนำไปสู่การวางแผนที่ผิดพลาด ❀ การบันทึกข้อมูลเด็กวัยเรียนในเขตเมืองไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย เนื่องจาก รร.มีเด็กจำนวนมาก และบางแห่งขาดข้อมูลในเขตเทศบาล ❀ ข้อมูลในระบบอาจไม่พบปัญหาทุพโภชนาการ เช่น ผอมและเตี้ย เมื่อ วิเคราะห์รายอำเภอ ตำบล พบเกินเป้าหมายร้อยละ 5 ต้องมีการเฝ้าระวัง อย่างต่อเนื่อง ❀ ควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับโรงเรียน เพื่อให้โรงเรียนทราบ สถานการณ์ และวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกัน

ด้านปฏิบัติการ • แผนงานโครงการ ควรมีรายละเอียดของ key message เพิ่มสูง ลดอ้วน เพื่อให้พื้นที่ ใช้เป็นค่ากลางในการจัดกิจกรรม • มาตรการควรให้ความสำคัญในเด็กกลุ่มเสี่ยงผอมและเตี้ย ร่วมด้วย เนื่องจากพบพื้นที่ เสี่ยงในหลายอำเภอ และจ่ายเม็ดเสริมธาตุเหล็กให้นักเรียนกิน สัปดาห์ละ 1 เม็ด • แผนงานควรให้ความสำคัญทางด้านการควบคุมคุณภาพอาหารกลางวันในโรงเรียนและ การจัดการด้านโภชนาการ • ควรมีการสรุปข้อมูลเชิงวิจัย หรือ R to R เพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาในเด็กวัยเรียน (อ้วน เตี้ย ผอม)

ควรมีการตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการเฝ้าระวัง เช่น เครื่องชั่งน้ำหนัก /วัดส่วนสูง ที่เป็นมาตรฐาน และจัดท่าทางให้ถูกต้อง

เครื่องมือที่ใช้ในการเฝ้าระวัง เช่น เครื่องชั่งน้ำหนัก/ ที่วัดส่วนสูง ที่ไม่ได้มาตรฐาน คือ ปัญหาเรื้อรังในเกือบทุกพื้นที่

Key message การพัฒนาเด็กวัยเรียนให้สูงดี สมส่วน จะต้องมีการเคลื่อนไหวดังนี้ “ ดื่มนมจืดยืดความสูง อย่างน้อยวันละ 2 กล่อง (โรงเรียน 1 กล่อง,บ้าน 1 กล่อง) กินไข่ วันละ 1 ฟอง , ลดหวาน มันและเค็ม เติมเต็มด้วยผัก ผลไม้หลากสี การมีกิจกรรมทางกาย วันละ 60 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ นอนหลับ 9-10 ชั่วโมง” หรือใช้หลักการชุดความรู้ NuPETH