การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ผลการดำเนินงาน การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
Advocacy Activities Buliding Capacity Regulatory Partnership ☻ชี้แจงนโยบาย แนวทางการดำเนินงานแก่ จนท.สาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานวัยเรียนทุกระดับ ในเขตสุขภาพที่ 5 ☻พัฒนาศักยภาพเครือข่ายวัยเรียน ☻การพัฒนามาตราฐานประกันคุณภาพโรงเรียน ☻มีแผนงานโครงการ ควบคุม กำกับ โดย KPI ส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ☻การตรวจราชการ • การเยี่ยมเสริมพลัง สถานการณ์สุขภาพเด็กวัยเรียน (กลุ่ม ปกติ เสี่ยง ป่วย) คณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน ระดับเขต จังหวัดและอำเภอ ศึกษาธิการจังหวัด, สพป, สพฐ, สช องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Advocacy ☻การรณรงค์วันเด็กแห่งชาติ Love milk day ดื่มนม สดรสจืด ยืดความสูง วันละ 2 กล่อง กินไข่วันละ ฟอง , กินอาหารลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ หลากสี ออกกำลังกายวันละ 60 นาที 5 วันต่อ สัปดาห์ ☻ประสานผ่าน สสจ. สพป,สพฐ เพื่อเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร ผ่าน www.HPC5.GO.TH, line วัยเรียน ภาคกลาง,youtube Investment ชี้แนะแหล่งทุนให้กับเครือข่าย เช่น กองทุนตำบล สปสช, สสส
ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน ระดับประเทศ เปรียบเทียบ ปี 2559-2560 ข้อมูล HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2561 ปี 59 ต่ำกว่าค่าเป้าหมายระดับประเทศ (68) ร้อยละ 3.41 ปี 60 ร้อยละ 3.66
เด็กอายุ 12 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ เป้าหมาย เพศชายมีส่วนสูงเฉลี่ย 154 เซนติเมตร, เพศหญิง มีส่วนสูงเฉลี่ย 155 เซนติเมตร
แสดงภาวะทุพโภชนาการ อ้วน เตี้ย ผอม แสดงภาวะทุพโภชนาการ อ้วน เตี้ย ผอม ระดับประเทศ ปี 60
เปรียบเทียบเด็กเริ่มอ้วนและอ้วน ปี 59-60 ปี 60 อันดับ 1 ปี 59อันดับ 1 อ้วนเพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 0.86 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 61
กราฟวงกลม แยกทุพโภชนาการระดับประเทศ ข้อมูล HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 61
สูงดี สมส่วน ปี 60 เขตสุขภาพที่ 5 ร้อยละ 64.3 ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 66 สูงดี สมส่วน ปี 60 เขตสุขภาพที่ 5 ร้อยละ 64.3 ต่ำกว่าปี 59 ร้อยละ 0.29 และต่ำกว่าเป้าหมายเขต ร้อยละ 1.7 สูงสุดที่จังหวัดราชบุรี ร้อยละ 65.8 ต่ำสุดที่จังหวัดสมุทรสาคร ร้อยละ 61.55 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2561
เปรียบเทียบ อ้วน เตี้ย ผอม เขตสุขภาพที่ 5 ปี 2559-2560 ผอม เตี้ย ไม่เกิน ร้อย 5 ภาพรวมเขต อ้วนลดลงจากปี 59 ร้อยละ 0.87 ปี 60 อ้วนร้อยละ 13.63 อ้วนสูงสุด 3 จังหวัด ได้แก่ สมุทรสาคร, นครปฐม และสุพรรณบุรี ข้อมูล HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2561
สิ่งที่พบจากการตรวจราชการและเยี่ยมเสริมพลัง 1. ด้านข้อมูล ❀ ข้อมูลในระบบต่ำกว่าสถานการณ์จริง อาจนำไปสู่การวางแผนที่ผิดพลาด ❀ การบันทึกข้อมูลเด็กวัยเรียนในเขตเมืองไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย เนื่องจาก รร.มีเด็กจำนวนมาก และบางแห่งขาดข้อมูลในเขตเทศบาล ❀ ข้อมูลในระบบอาจไม่พบปัญหาทุพโภชนาการ เช่น ผอมและเตี้ย เมื่อ วิเคราะห์รายอำเภอ ตำบล พบเกินเป้าหมายร้อยละ 5 ต้องมีการเฝ้าระวัง อย่างต่อเนื่อง ❀ ควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับโรงเรียน เพื่อให้โรงเรียนทราบ สถานการณ์ และวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกัน
ด้านปฏิบัติการ • แผนงานโครงการ ควรมีรายละเอียดของ key message เพิ่มสูง ลดอ้วน เพื่อให้พื้นที่ ใช้เป็นค่ากลางในการจัดกิจกรรม • มาตรการควรให้ความสำคัญในเด็กกลุ่มเสี่ยงผอมและเตี้ย ร่วมด้วย เนื่องจากพบพื้นที่ เสี่ยงในหลายอำเภอ และจ่ายเม็ดเสริมธาตุเหล็กให้นักเรียนกิน สัปดาห์ละ 1 เม็ด • แผนงานควรให้ความสำคัญทางด้านการควบคุมคุณภาพอาหารกลางวันในโรงเรียนและ การจัดการด้านโภชนาการ • ควรมีการสรุปข้อมูลเชิงวิจัย หรือ R to R เพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาในเด็กวัยเรียน (อ้วน เตี้ย ผอม)
ควรมีการตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการเฝ้าระวัง เช่น เครื่องชั่งน้ำหนัก /วัดส่วนสูง ที่เป็นมาตรฐาน และจัดท่าทางให้ถูกต้อง
เครื่องมือที่ใช้ในการเฝ้าระวัง เช่น เครื่องชั่งน้ำหนัก/ ที่วัดส่วนสูง ที่ไม่ได้มาตรฐาน คือ ปัญหาเรื้อรังในเกือบทุกพื้นที่
Key message การพัฒนาเด็กวัยเรียนให้สูงดี สมส่วน จะต้องมีการเคลื่อนไหวดังนี้ “ ดื่มนมจืดยืดความสูง อย่างน้อยวันละ 2 กล่อง (โรงเรียน 1 กล่อง,บ้าน 1 กล่อง) กินไข่ วันละ 1 ฟอง , ลดหวาน มันและเค็ม เติมเต็มด้วยผัก ผลไม้หลากสี การมีกิจกรรมทางกาย วันละ 60 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ นอนหลับ 9-10 ชั่วโมง” หรือใช้หลักการชุดความรู้ NuPETH