(Reading Test: RT) การประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2560 สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
รายละเอียดการประเมินการอ่านออก
ความสามารถด้านการอ่าน ความสามารถด้านการอ่านออกเสียง คำ ประโยค ข้อความ ความสามารถด้านการอ่านรู้เรื่อง
กลุ่มเป้าหมายในการประเมิน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ทุกสังกัดทั่วประเทศ ประมาณ 800,000 คน
วันสอบ วัน 19 - 23 กุมภาพันธ์ 2561 ประกาศผล วันที่ 2 เมษายน 2561
ตารางสอบ สอบระหว่าง วันที่ 19 – 23 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 9.00 – 15.00 น.
สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. กลุ่มพัฒนาเครื่องมือฯ และการให้บริการ กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา กลุ่มงาน พัฒนาข้อสอบ (2 ด้าน) บริการ จัดการทดสอบ รายงานผล การทดสอบ บทบาท มีมาตรฐานและ ถูกต้องตามหลักวิชาการ รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และมีความน่าเชื่อถือ จุดเน้น
โครงสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ด้าน สอบภาคปฏิบัติ เลือกตอบ จับคู่ เขียนตอบสั้น การอ่านออกเสียง - คำ - ประโยค - ข้อความ 20 คำ 10 ประโยค 1 ข้อความ - การอ่านรู้เรื่อง 10 ข้อ 5 ข้อ สามารถ Download ได้ที่ สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวอย่างข้อสอบอ่านออกเสียง อ่านเป็นคำ 1. ปูเสื่อ 2. หม้อแกง
ตัวอย่างข้อสอบอ่านออกเสียง อ่านเป็นประโยค
ตัวอย่างข้อสอบอ่านออกเสียง อ่านเป็นข้อความ
ตัวอย่างข้อสอบอ่านรู้เรื่อง อ่านรู้เรื่องคำ (จับคู่) 1. แตงโม 2. เสื้อ 3. ลูกโป่ง
ตัวอย่างข้อสอบอ่านรู้เรื่อง อ่านรู้เรื่องคำ (เขียนตอบ) 1. 2. 3. เสื้อ ลูกโป่ง แตงโม
ตัวอย่างข้อสอบอ่านรู้เรื่อง อ่านรู้เรื่องประโยค ตาบัวทาสีฟ้าที่รั้ว ที่ครัวสีน้ำตาล ตัวบ้านทาสีเขียวอ่อน 1. รั้วบ้านตาบัวมีสีอะไร สีฟ้า สีน้ำตาล สีเขียวอ่อน
ตัวอย่างข้อสอบอ่านรู้เรื่อง อ่านรู้เรื่องข้อความ แม่นำไข่เป็ดมาทำไข่เค็ม เก็บไว้กินกับข้าวต้ม ซึ่งยายชอบมาก ส่วนหนูแววชอบกินข้าวต้มกับไข่เจียว 1. ใครชอบกินข้าวต้มกับไข่เค็ม แม่ ยาย หนูแวว
กำหนดการบริหารจัดการประเมินการอ่านออก ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 1 สร้างแบบทดสอบการอ่านและกำหนดเกณฑ์การประเมิน เม.ย. 60 – ม.ค. 61 สพฐ. 3 แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการทดสอบการอ่านระดับ สพฐ. ก.ย. 60 4 ประชุมคณะกรรมการอำนวยการทดสอบการอ่านระดับ สพฐ. ต.ค. 60 5 ประชุมชี้แจงผู้แทนศูนย์สอบของ สพฐ. และผู้แทนสังกัดอื่น ๆ เกี่ยวกับแนวทางการจัดสอบการอ่าน รุ่นที่1 7 – 10 พ.ย.60 รุ่นที่ 2 12–15 พ.ย.60 6 ศูนย์สอบนำเข้าและตรวจสอบข้อมูลสถานศึกษาที่มีสิทธิ์สอบ ผ่านระบบ NT Access 10 – 17 พ.ย. 60 ศูนย์สอบ 7 ศูนย์สอบแจ้งและจัดส่งรหัสผ่านของสถานศึกษาในการกรอกข้อมูลนักเรียน ผ่านระบบ NT Access 20 พ.ย. – 22 ธ.ค.60 8 สถานศึกษานำเข้าข้อมูลนักเรียนที่มีสิทธิ์สอบผ่านระบบ NT Access 20 พ.ย. – 22 ธ.ค. 60 สถานศึกษา 9 ศูนย์สอบสำรวจและจัดสนามสอบ 22 – 31 ธ.ค. 60 10 สถานศึกษาตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลนักเรียนที่มีสิทธิ์สอบ ผ่านระบบ NT Access (ครั้งสุดท้าย) 3 – 10 ม.ค. 61
กำหนดการบริหารจัดการประเมินการอ่านออก ศูนย์สอบร่วมกับสนามสอบ ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 11 สพฐ. ตรวจสอบการจัดสนามและข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบ 10 – 15 ม.ค. 61 สพฐ. 12 ศูนย์สอบแต่งตั้งคณะกรรมการจัดสอบระดับศูนย์สอบ และสนามสอบ 16 – 31 ม.ค. 61 ศูนย์สอบ 13 ศูนย์สอบประชุมชี้แจงคณะกรรมการจัดการสอบระดับศูนย์สอบ และสนามสอบ เกี่ยวกับการบริหารจัดการสอบ 1 – 16 ก.พ. 61 14 สพฐ. จัดจ้างพิมพ์ข้อสอบและกระดาษคำตอบ 22 ม.ค. – 2 ก.พ. 61 15 จัดส่งข้อสอบและกระดาษคำตอบไปยังศูนย์สอบ 12 - 16 ก.พ. 61 16 ศูนย์สอบดำเนินการจัดสอบ 19 - 23 ก.พ. 61 17 สนามสอบนำเข้าผลการทดสอบรายบุคคล 19 ก.พ. - 16 มี.ค.61 ศูนย์สอบร่วมกับสนามสอบ 18 สพฐ. และศูนย์สอบ ตรวจเยี่ยมสนามสอบ สพฐ.ร่วมกับศูนย์สอบ 19 ประมวลผลคะแนนการทดสอบ 17 – 31 มี.ค. 61 20 ประกาศผลการทดสอบ 2 เม.ย.61
กรอบแนวคิดในการประเมินการอ่านออก
รูปแบบการบริหารจัดการ กระจายอำนาจการบริหารจัดการ สพฐ. โรงเรียน สนามสอบ ศูนยฺสอบ ศูนย์สอบ ความยุติธรรมและความโปร่งใส หมายเหตุ ให้กำหนดสถานศึกษาทุกแห่งเป็นสนามสอบ เนื่องจากมีนักเรียนเป็นจำนวนมากหรือขนย้ายนักเรียนลำบาก
การบริหารจัดการศูนย์สอบ สพป. อปท. กทม. พัทยา สช. (ส่วนกลาง) ร.ร. สพป. ร.ร. สพม. ร.ร. เอกชน ร.ร. ตชด. ร.ร. สาธิตมหาวิทยาลัย ร.ร.ราชประชานุเคราะห์ ร.ร. การศึกษาพิเศษ Home School ร.ร. อบต. ร.ร. เทศบาล ร.ร. อบจ ร.ร. กทม. ร.ร. เมืองพัทยา ร.ร.เอกชน ในกรุงเทพมหานคร หมายเหตุ ศูนย์สอบสามารถกำหนดให้สถานศึกษาที่นักเรียนเป็นจำนวนมากหรือขนย้ายนักเรียนลำบากเป็นสนามสอบได้
การบริหารจัดการประเมินการอ่านออก ระดับศูนย์สอบและสนามสอบ
การบริหารจัดการสอบ 1. ให้ผู้บริหารโรงเรียนที่เป็นสนามสอบ เป็น ประธานสนามสอบ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการคุมสอบจากต่างโรงเรียน 1 คน และครูใน ร.ร. 1 คน3. ศูนย์สอบจะเป็นหน่วยงานหลัก ในการประสานความร่วมมือกับ สพฐ. และหน่วยงานภายในสังกัดในพื้นที่จังหวัดของตนเอง 4. สพฐ.จะเป็นผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการผลิตข้อสอบและกระดาษคำตอบ ให้แก่นักเรียนทุกสังกัด (รวมการจัดส่งด้วย)
แนวปฏิบัติในการบริหารจัดการสอบ การจัดสนามสอบและห้องสอบ ใช้อัตราจํานวนผู้เข้าสอบ 30-35 คน ต่อห้อง โดยการจัดห้องสอบจะจัดนักเรียนเข้าห้องสอบ ทีละโรงเรียน แบบเรียงตามพยัญชนะของชื่อโรงเรียน และการเรียงลำดับเลขที่นั่งของนักเรียน ในแต่ละโรงเรียนจะจัดเรียงตามที่โรงเรียนส่งข้อมูลเข้าโปรแกรม NT Access
โปรแกรมในการบริหารจัดการสอบ NT Access
NT Access
ระบบในการบริหารจัดการสอบ NT (NT Access) หน่วยงาน ต้นสังกัด แก้ไขข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน แก้ไขข้อมูลนักเรียน ตรวจสอบรายชื่อสนามสอบ ดูผลการทดสอบ ระบบเปิด 8 พฤศจิกายน 60 NT Access ศธ.จ. ดูผลการทดสอบ ศูนย์สอบ เพิ่ม/ลดโรงเรียนในสนามสอบ แก้ไขข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน ตรวจสอบรายชื่อสนามสอบ จัดสนามสอบ ดูผลการทดสอบ สถานศึกษา เพิ่มข้อมูลนักเรียน แก้ไขข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน กำหนดห้องสอบในสนามสอบ ดูผลการทดสอบ
แนวปฏิบัติของศูนย์สอบในโปรแกรม NT Access ตรวจสอบรายชื่อโรงเรียน เพิ่ม / ลดโรงเรียนที่เข้าสอบ ชี้แจงการใช้โปรแกรม NT Access ให้แก่สถานศึกษา - การแก้ไขข้อมูลพื้นฐานของ โรงเรียน - การนำเข้าข้อมูลนักเรียน - การแก้ไขข้อมูลนักเรียน - การกำหนดห้องสอบ - การตรวจสอบข้อมูลห้องสอบของ นักเรียน - การพิมพ์บัตรประจำตัวผู้สอบ - การดูผลการสอบ จัดสนามสอบ/ห้องสอบ
การเพิ่มโรงเรียนเข้าใน NT Access ให้ศูนย์สอบแจ้งมายัง สพฐ. ผ่าน Line กลุ่ม ศน.การอ่าน ป.1 RT หรือส่งโดยตรงที่กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้ รหัสโรงเรียน ชื่อโรงเรียน สังกัด (สพฐ., ตชด, เอกชน ฯลฯ) ที่อยู่ปัจจุบัน หมายเหตุ เมื่อนำเข้าเสร็จแล้ว สพฐ. จะแจ้งให้ทราบผ่าน Line กลุ่ม ศน.การอ่าน ป.1 RT
การนำเข้าข้อมูลนักเรียนใน NT Access ช่องทางที่ 2 กรอกในไฟล์ Excel ที่โหลดจากโปรแกรม (ล่าสุด) แล้วนำส่งเข้าโปรแกรม NT Access ข้อมูลเดิม ข้อมูลใหม่ แทนที่
การนำเข้าข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบอ่าน NT Access โรงเรียน นักเรียน ส่งข้อมูล ตรวจสอบ ศูนย์สอบ นำส่ง ดาว์นโหลด แบบบันทึก คะแนนการอ่าน แบบบันทึกการอ่าน 1 แบบบันทึกการอ่าน 2 แบบฟอร์มบันทึกคะแนน บันทึกลงใน
แนวปฏิบัติของโรงเรียนในโปรแกรม NT Access ตรวจสอบ/แก้ไขข้อมูล พื้นฐานของโรงเรียน นำเข้าข้อมูลนักเรียนที่เข้า สอบ แก้ไขข้อมูลนักเรียน กำหนดห้องสอบ ตรวจสอบข้อมูลห้องสอบของ นักเรียน พิมพ์บัตรประจำตัวผู้สอบ ดูผลการสอบ
การนำเข้าข้อมูลนักเรียนที่เป็นคนต่างด้าว กรณีที่ทราบเลข 13 หลัก ให้กรอกเลข G211123311111 ในโปรแกรมได้เลย กรณีที่ไม่ทราบเลข 13 หลัก ให้กรอกเลขรหัสโรงเรียน ตามด้วยเลขลำดับที่ 3 หลัก ตัวอย่างเช่น โรงเรียนวิเวอร์ไซด์วิทยา รหัสโรงเรียน 1004324688 1. เด็กชายโคเละ นากาโละเคะ รหัส 1004324688001 2. เด็กชายปอย ไม่มีนามสกุล รหัส 1004324688002
1 2 3 4 5 6 7 8 9 ศูนย์สอบ ตรวจสอบ/เพิ่ม/ลด โรงเรียนในศูนย์สอบ สถานศึกษา นำเข้าข้อมูล นักเรียนในโรงเรียน 2 กำหนดจำนวนห้องสอบ ในโรงเรียน 3 กำหนดสนามสอบ ในศูนย์สอบ 4 ตรวจสอบข้อมูล นักเรียนในแต่ละห้องสอบ 5 สนามสอบ/ศูนย์สอบ ดาว์นโหลดแบบฟอร์มกรอกคะแนน (ไฟล์ Excel) จากโปรแกรม NT Access 6 สนามสอบทำการประเมินนักเรียนในแต่ละสมรรถนะ 7 สนามสอบ นำส่งข้อมูลผลการสอบ ของนักเรียนในโรงเรียน 8 โปรแกรม NT Access ประมวลผลการสอบ 9
การตรวจข้อสอบ
การตรวจข้อสอบ ทำการตรวจข้อสอบที่สนามสอบ แล้วบันทึกผลการทดสอบลงในแบบบันทึก แล้วกรอกข้อมูลจากแบบบันทึกส่งมายัง สพฐ. ผ่านทางระบบ NT Access ทั้งนี้ การประเมินความสามารถในการอ่านออก เป็นการประเมินเพื่อปรับปรุงและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนเป็นสำคัญ ดังนั้น กรรมการคุมสอบควรคำนึงถึงถูกต้องตามสภาพที่เป็นจริงของนักเรียน ความบริสุทธิ์ ยุติธรรมและโปร่งใส ด้วย
การรายงานผลการทดสอบ
การรายงานผล 1. ประกาศผลสอบ วันที่ 2 เมษายน 2561 เป็นต้นไป 2. ดูผลสอบของนักเรียนผ่านระบบ NT Access 3. แบบรายงานผลสอบ รายบุคคล รายสถานศึกษา รายเขตพื้นที่การศึกษา รายสังกัด ภาพรวมประเทศ
แบบรายงานผลการสอบ
แบบรายงานผลการสอบของนักเรียนรายบุคคล
แบบรายงานผลการสอบของโรงเรียน
แบบรายงานผลการสอบของศูนย์สอบ
กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สพฐ. ติดต่อสอบถาม กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สพฐ. Phone 02-2885783, 02-2885787 Fax 02-2816236 ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป 081-4324688 การบริหารจัดการสอบ NT อ.ณัฐพร พรกุณา 081-7758315 อ.ก้องเกียรติ ปิ่นกุมภีร์ 089-2195054 อ.ศรีกันยา ธรรมพิทักษ์ 099-9726451 การประมวลผลและรายงานผล (NT Access) อ.วิทยา บัวภารังษี 081-6606326 อ.ประจักษ์ คชกูล 085-6865764 อ.มีนา จีนารักษ์ 081-7296913