การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

System Requirement Collection (2)
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การเขียนโครงร่างวิจัย
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
แบบสอบถาม (Questionnaire)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ข้อมูลและประเภทของข้อมูล
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
การวัด Measurement.
Population and sampling
การทดสอบเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยและสัดส่วน
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
การนำเข้าข้อมูล โปรแกรม Epidata.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยและ สถิติสำหรับการวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์และการแปลผล
การวิเคราะห์แปลผลข้อมูล
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วัตถุประสงค์การวิจัย
บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
บทที่ 9 กรรมวิธีทางข้อมูล
สถิติเพื่อการวิจัยทางการเกษตร STATISTICS FOR AGRICULTURAL RESEARCH
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย มูลนิธิสุขภาพภาคใต้
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
Chapter 9: Chi-Square Test
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การออกแบบและวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การกระจายอายุของบุคลากร วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สถิติเพื่อการวิจัย อัญชลี จันทาโภ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย วันดี ทับทิม หน่วยส่งเสริมการวิจัย งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

สถิติในการวิจัย เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในสิ่งทีสนใจอย่างเป็นระบบ ซึ่งในการวิจัยจะใช้สถิติหา คุณภาพของเครื่องมือ และใช้ในการกำหนดขนาดของตัวอย่างให้เหมาะสมกับ ประชากร และสำหรับวิเคราะห์ข้อมูล แต่ก่อนทำการวิเคราะห์ข้อมูลนั้น ผู้วิจัยจะต้องคำนึงถึง ข้อจำกัดของสถิติแต่ละตัว และ ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัย ** นักวิจัยต้องชัดเจนในวัตถุประสงค์ของการวิจัยว่างานวิจัยดังกล่าวต้องการอะไร **

สถิติเบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย ประเภทของสถิติ 1. สถิติพรรณนา (Descriptive statistic) คือ สถิติที่ใช้สรุปบรรยายคุณสมบัติที่สำคัญของ ประชากร(Population) หรือตัวอย่าง(Sample) ของสิ่งที่ต้องการศึกษา เช่น เพศ อายุ ระดับ การศึกษา 2. สถิติวิเคราะห์ (Analytical statistic) คือ วิธีการทางสถิติที่ผู้วิจัยนำมาใช้เพื่อพิสูจน์หรือ ทดสอบสมมติฐาน และยืนยันเกี่ยวกับข้อค้นพบ เช่น สถิติ F-test (ANOVA) เพื่อดูความ แตกตางของระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรแต่ละตำแหน่ง

ตัวแปรในการวิจัย ในการวิจัยแบ่งตัวแปรออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ(Independent Variable) หมายถึง สิ่งที่ทำให้ตัวแปรอื่น (หรือที่เรียกว่าตัวแปรตาม) มีค่าเปลี่ยนแปลงไป เช่น ความพึงพอใจในงาน 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็นชื่อเรียกตัวแปรใดๆ ก็ตามที่มีค่าผันแปรเนื่องมาจากอิทธิพลของตัวแปรอื่นๆ (ตัวแปรต้น) เช่น ความผูกพันต่อองค์กร

ประเภทของข้อมูล ประเภทของข้อมูลมีความสำคัญมาก สำหรับการนำข้อมูลไปวิเคราะห์ทางสถิติ เพราะสถิติ แต่ละตัวมีข้อจำกัดในการนำไปวิเคราะห์ ซึ่งขึ้นอยู่กับประเภทของข้อมูล ฉะนั้นผู้วิจัยจะต้องมี ความรู้ว่าข้อมูลแต่ละตัวอยู่ในประเภทใด เพื่อทีจะสามารถเลือกใช้สถิติได้อย่างถูกต้อง นามบัญญัติ (Nominal Scale) เรียงอันดับ (Ordinal Scale) อันตรภาค (Interval Scale) อัตราส่วน (Ratio Scale)

นามบัญญัติ (Nominal Scale) ข้อมูลประเภทนี้เป็นข้อมูลที่แบ่งเป็นกลุ่ม เป็นประเภท ที่แยกออกจากกัน เช่น เพศ แบ่งเป็น ชาย, หญิง อาชีพ แบ่งเป็น ข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ ค้าขาย เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้จะใช้ สถิติง่าย ๆ ในการคำนวณ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ เป็นเพียงตัวแทนของชื่อกลุ่มเท่านั้น บอกได้เพียงความแตกต่างระหว่างกลุ่ม จะนำไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ในทางสถิติ เพราะไม่มีความหมาย

เรียงอันดับ (Ordinal Scale) ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่าง ๆ โดยเรียงอันดับของ ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้จากสูงสุดไปหาต่ำสุด เช่น ลำดับที่ของการ สอบลำดับของการประกวดสิ่งต่าง ๆ หรือความนิยมเป็นต้น ซึ่งจะนำไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้เช่นกัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ

อันตรภาค (Interval Scale) ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่าง เท่ากันทุกช่วง เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น ระดับ ทัศนคติ , ระดับความคิดเห็น โดยแปลความหมายจากแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating scale) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติ ขั้นสูงทุกตัว

อัตราส่วน (Ratio Scale) ข้อมูลประเภทนี้ เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สามารถบวก ลบ คูณ หาร ได้ และมี ศูนย์แท้ เช่น น้ำหนัก ความเร็ว ความกว้าง ความหนา พื้นที่ จำนวนเงิน, อายุ ระยะทาง ซึ่งถ้ามีค่าเป็น 0 หมายถึง ไม่มี ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว

ตัวอย่างประเภทของข้อมูล

ตัวอย่างประเภทของข้อมูล

ตัวอย่างประเภทของข้อมูล

การประมาณค่า (Estimate) การทดสอบสมติฐาน (Hypothesis test) ประชากร (Population) การสุ่มตัวอย่าง (Sampling) ตัวอย่าง (Sample) สถิติพรรณนา สถิติพรรณนา ค่าพารามิเตอร์ (Parameter) การประมาณค่า (Estimate) การทดสอบสมติฐาน (Hypothesis test) ค่าสถิติ  ค่าเฉลี่ย (Mean) X  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) S

หลักการเลือกใช้สถิติในการวิจัย การพิจารณาว่าจะใช้สถิติใดในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยจะต้องพิจารณา องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับหลักการทางสถิติ 3 ประการดังนี้ 1. ลักษณะของตัวอย่างที่นำมาศึกษา ตัวอย่างที่นำมาศึกษานั้นได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างหรือไม่

หลักการเลือกใช้สถิติในการวิจัย 2. ประเภทของข้อมูล ลักษณะของข้อมูลที่วัดได้มี 4 ประเภท สถิติบางอย่างสามารถใช้ได้กับข้อมูลทุก ระดับ แต่บางอย่างใช้ได้กับข้อมูลบางระดับก่อนตัดสินใจว่าจะใช้สถิติใดในการ วิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยควรพิจารณาว่า ข้อมูลที่รวบรวมมาได้นั้นเป็นข้อมูลระดับใดเสียก่อน เพื่อจะ ได้เลือกใช้สถิติได้ถูกต้อง

หลักการเลือกใช้สถิติในการวิจัย 3. จุดมุ่งหมายของการวิจัย ผู้วิจัยจะต้องพิจารณาว่าวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้นมีกี่ตัวแปร มีจุดมุ่งหมายเพื่อ อธิบายลักษณะ ข้อเท็จจริงของตัวแปร หรือต้องการเปรียบเทียบ หรือ ต้องการ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ต้องมีการทดสอบสมมุติฐานอะไรบ้าง จึงจะ สามารถเลือกใช้สถิติได้ถูกต้อง

หลักการเลือกใช้สถิติในการวิจัย สถิติพื้นฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เพื่อแสดงความหมายทั่วไปของ ข้อมูล และใช้เป็น พื้นฐานในการ คำนวณสถิติขั้นสูงต่อไป ซึ่งสถิติพื้นฐานได้แก่ 1.1 การแจกแจงความถี่ (frequency) 1.2 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ได้แก่ - ค่าเฉลี่ย (Mean) มัธยฐาน (Median) ฐานนิยม (Mode) 1.3 การวัดการกระจาย ได้แก่ - พิสัย (Range) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) ความแปรปรวน (Variance)

สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย สถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐาน เป็นสถิติที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์เพื่อทดสอบ สมมติฐานว่าเป็นจริงตามที่กำหนดไว้หรือไม่ ได้แก่ 1.1 การทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ได้แก่ t-test F-test และ ไคสแควร์ (chi-square) 1.2 การหาความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป ได้แก่ การหาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ (correlation) ไคสแควร์ (chi-square) 1.3 การพยากรณ์ (regression) ได้แก่ Linear regression, Logistic regression

…THANK YOU…