การพัฒนาคุณภาพการบันทึก สาเหตุการตายปี 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

การพัฒนาคุณภาพการบันทึก สาเหตุการตายในสถานพยาบาล
แนวทางการบันทึกข้อมูล และการตรวจสอบผลงาน การให้บริการตาม Service Plan
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
โครเมี่ยม (Cr).
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ขดลวดพยุงสายยาง.
รู้เรื่องยา แท้งปลอดภัย
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพการบันทึก สาเหตุการตายปี 2559 พ.ญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ 081 8273634 และ ชูจิตร นาชีวะ 086 8814151 สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ก.สาธารณสุข

% สาเหตุไม่ชัดแจ้ง (ไม่ทราบสาเหตุ), WHO 2003 2012 – 45%

รายงานการตาย “สาเหตุไม่ชัดแจ้ง” จำแนกรายจังหวัด 2553-2554

การตาย “สาเหตุไม่ชัดแจ้ง” ตามอายุ year 2000

สถานภาพการตาย ประชาชนไทย คนไทยตายปีละประมาณ 450,000 คน ป่วยตายในโรงพยาบาล 25-30 % ตายผิดธรรมชาติ (ชันสูตรพลิกศพ) 25-30 % หนังสือรับรองการตาย โดย แพทย์ผู้รักษาก่อนตาย ตายนอกโรงพยาบาล 50-40 % ใบรับแจ้งการตาย โดย ผู้ใหญ่บ้าน,กำนัน, ทะเบียน

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การจดแจ้งประชากร พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร ฯ หน้าที่ของพลเมืองไทยคือ ............................................................. หน้าที่นายทะเบียนท้องถิ่นคือ ....................................................... งานของสาธารณสุข/การแพทย์คือ ................................................ กฎหมายอาญา และ (พรบ.) ชันสูตรพลิกศพ ใช้ในกรณีใด ................................................................ งานของสาธารณสุขคือ .......................................................

ประวัติแล้วลงสาเหตุการตาย.................................. คุณป้าน้ำทิพย์อายุ 62 ปี ตายในบ้าน ญาติมาแจ้งตาย นายทะเบียนจะถาม อะไรจากญาติบ้าง .............. - อ่อนเพลียมาหลายเดือน ทานข้าวไม่ค่อยได้ ไปตรวจและรับยาเป็นประจำที่รพ.อำเภอ จะถามอะไรต่อ ?? - ตรวจและรักษาโรคประจำตัวคือ เบาหวาน ล่าสุดหมอแจ้งว่า ไตไม่ค่อยทำงาน แนะนำให้ไปล้างไต ..... ประวัติเท่านี้พอหรือยัง ควรถามต่อว่า “มีโรคอื่นอีกไหม เบาหวานทำให้ไตวาย สรุปสาเหตุการตาย ..............................................

คำต่อไปนี้ เป็นโรคหรือเปล่า ชราภาพ เป็นลม เป็นไข้ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน บวม อ่อนเพลีย เป็นแผลพุพอง กระโหลกศีรษะแตก แขนขาหัก ตับแตก ม้ามแตก เลือดออกในสมอง ขาดอากาศหายใจ หัวใจล้มเหลว ไตวาย ตับวาย ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว

ผลการประเมินคุณภาพสาเหตุการตายในสถานพยาบาลปี 2555-2557 (ร้อยละความถูกต้อง 2-3 digits)

ร้อยละ สาเหตุไม่ชัดแจ้ง จำแนกรายจังหวัด เขต 5 ปี 2558 ร้อยละ สาเหตุไม่ชัดแจ้ง จำแนกรายจังหวัด เขต 5 ปี 2558

การประเมินเหตุไม่ชัดแจ้งของการตายในสถานพยาบาล จ.สระแก้ว จำนวนตายไม่ชัดแจ้ง รพร.สระแก้ว 9 จาก 10 รพ.ตาพระยา 6 จาก 7 รพ.วัฒนานคร 5 จาก 6 รพ.อรัญประเทศ 5 จาก 5 รพ.วังน้ำเย็น 6 จาก 9 รพ.คลองหาด 3 จาก 6 รพ.เขาฉกรรจ์ 2 จาก 9

ประโยชน์ของข้อมูลการตาย วิเคราะห์และคาดประมาณประชากร - ทำตารางชีพ และ อายุคาด เฉลี่ย DALYs (Disability Adjusted Life Years) แสดงปัญหาสุขภาพในระดับประเทศและพื้นที่ กำหนดนโยบายและวางแผนงาน จัดสรรทรัพยากรอย่างถูกต้อง ตรงกับปัญหาที่แท้จริง

คำจำกัดความ - สาเหตุการตาย UNDERLYING CAUSES OF DEATHS โรคแรกที่เกิดขึ้น อันทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆตาม ต่อเนื่องกันมา จนนำไปสู่การเสียชีวิต ในกรณี การบาดเจ็บ สาเหตุการตาย คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอัน ทำให้เกิดการบาดเจ็บ เช่น อุบัติเหตุตกจากที่สูง, ฆาตกรรม โดยอาวุธปืน, หรือขับมอเตอร์ไซด์ชนรถยนต์

รูปแบบการตาย (MODE OF DEATH) ถือเป็นการตายด้วยสาเหตุไม่ชัดแจ้ง คำที่แสดงว่า อวัยวะสำคัญหยุดทำงาน เกิดขึ้นก่อนเสียชีวิตไม่นาน หัวใจล้มเหลว, หายใจล้มเหลว ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว สมองหยุดทำงาน หัวใจหยุดเต้น ห้ามเขียน

(Suicide, Homicide, Accident, Animal, Disaster) คนไทยตายปีละ 450,000 ตายใน + นอก รพ. ผิดธรรมชาติรวมตาย (Suicide, Homicide, Accident, Animal, Disaster) เหตุธรรมชาติ ไม่ทราบสาเหตุ เจ็บป่วย - ประวัติการป่วย การรักษา รพ. วินิจฉัยโดยแพทย์ - สอบสวนโดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ออกชันสูตรพลิกศพ บันทึก สภาพศพ และหลักฐานต่างๆ ลงสาเหตุการตายอย่าง ถูกต้อง (ระบบ ICD-10) เอกสารรับรองการตาย พรบ.ทะเบียนราษฎร มรณบัตร พรบ.ชัณสูตรพลิกศพ, ป.วิ อาญา

เอกสารรับรองเอกสารการตาย หนังสือรับรองการตาย ท.ร. 4/1 สำหรับการตายใน สถานพยาบาล หรือ แพทย์ ออกชัณสูตร ใบรับแจ้งการตาย ท.ร. 4 ตอนหน้า สำหรับการตาย นอกสถานพยาบาล

แบบฟอร์ม ทร.4 ตอนหน้า และ ทร.4/1 ในส่วนของการวินิจฉัยสาเหตุการตาย แบบฟอร์ม ทร.4 ตอนหน้า และ ทร.4/1 ในส่วนของการวินิจฉัยสาเหตุการตาย 2.3 โรคที่เป็นสาเหตุการตายเขียนเป็นภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ (CAPITAL LETTER) a) ……... …... ……... …... ……... …… (due to) ระยะเวลาที่เป็น……. b) ……... …... ……... …... ………….. (due to) ระยะเวลาที่เป็น……. c) ……... …... ……... …... ……... …… (due to) ระยะเวลาที่เป็น……. d) ……... …... ……... …... ……... …… ระยะเวลาที่เป็น……. 2.4 โรคหรือภาวะอื่นที่เป็นเหตุหนุน ………………. 2.5 โรคหรือภาวะที่ให้เจ้าหน้าที่ทะเบียนราษฎร คัดลอกลงในช่อง “สาเหตุการตาย” ในมรณบัตร (ให้เขียนเพียงโรคหรือภาวะ เดียวเท่านั้น โดยเขียนเป็นภาษาไทย)…………. 2.6 หากผู้เสียชีวิตเป็นสตรี ไม่ตั้งครรภ์ กำลังตั้งครรภ์…สัปดาห์ ขณะเสียชีวิตเพิ่งสิ้นสุดการตั้งครรภ์ไม่เกิน 6 สัปดาห์ ไม่ทราบ

หลักการเขียนเอกสารรับรองการตาย งดการใช้คำแสดงรูปแบบการตาย เขียนโรคต่าง ๆ ย้อนจากการ วินิจฉัยล่าสุดกลับไปในอดีตจนถึง สาเหตุการตาย (โรคเดิม) บันทึกสาเหตุการตายในบรรทัด ล่างสุด ลงโรคที่นำให้ผู้ป่วยมารักษา ไม่ลง ภาวะแทรกซ้อน

หัวรถจักร สาเหตุ การตาย รูปแบบ การตาย 1

2

ตัวอย่างที่ 1 - วิธีเขียนหนังสือรับรองการตาย (a) ASPIRATION PNEUMONIA 7 Ds (b) CRYPTOCOCCAL MENINGITIS 17 Ds (c) HIV INFECTION 7 Yrs (d) 2.5 สาเหตุการตายคือ ติดเชื้อเอชไอวี หรือ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง

6

ตัวอย่างที่ 2 - วิธีเขียนหนังสือรับรองการตาย (a) BRONCHOPNEUMONIA 7 Ds (b) METASTASIS CARCINOMA OF BOTH FRONTAL LOBES 4 Wks (c) CARCINOMA OF RIGHT BREAST 4 Ys 2.5 สาเหตุการตายคือ มะเร็งเต้านมข้างขวา

Pedestrian hit by Pickup 3

ตัวอย่างที่ 3 - วิธีเขียนหนังสือรับรองการตาย SEPTIC SHOCK 2 Ds URINARY TRACT INFECTION 7 Ds (c)INTRACEREBRAL HAEMORRAGE 30D (d) PEDESTRIAN HIT BY PICK-UP 30 Ds 2.5 สาเหตุการตาย เดินข้ามถนนถูกปิคอัพชน

4

5

ข้อพึงสังเกตในการลงสาเหตุการตาย

1. ถึงแม้เราทราบแน่ชัดว่าโรคติดเชื้อหรือปรสิตบางชนิดเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งบางอย่าง เช่น LIVER FLUKE เป็นสาเหตุของมะเร็งท่อน้ำดี, มะเร็งตับ ให้ลงสาเหตุตายเป็นโรคมะเร็ง ยกเว้นการติดเชื้อ HIV ที่ทำให้เกิด KAPOSI’s SARCOMA, Burkitt’s tumour ให้ลงสาเหตุการตายเป็น HIV INFECTION

2. TUBERCULOSIS ของระบบประสาทหรืออวัยวะอื่น ๆ ร่วมกับวัณโรคปอดให้ลงสาเหตุการตายเป็นวัณโรคปอด ยกเว้นทราบแน่ชัดว่าเป็นมาก่อนวัณโรคปอด

3. ถ้าบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น แผลถลอก ฟกช้ำ ห้อเลือด แมลงไม่มีพิษกัด first degree burn เกิดการติดเชื้อที่ผิวหนัง ถ้ายังมีแผลติดเชื้อ ให้ลง CELLULITIS, ERYSIPELAS หากไม่มีบาดแผลแล้วแต่ติดเชื้อในกระแสโลหิต ให้ลงสาเหตุการตายเป็น SEPTICEMIA ไม่ลงสาเหตุของการบาดเจ็บเล็กน้อย แต่ถ้าบาดเจ็บมากกว่านั้นให้ลงสาเหตุการบาดเจ็บเป็นสาเหตุการตาย

4. ไม่ลงสาเหตุการตายว่าจากการสูบบุหรี่ ถึงแม้จะเป็นสาเหตุให้เกิดโรคหลายชนิด ให้ลงสาเหตุการตายเป็นโรค COPD, EMPHYSEMA, LUNG CANCER 5. โรคจากสุราให้ดูอาการ ลงได้เป็น ALCOHOLIC CIRRHOSIS, ALCOHOLISM, ACUTE ALCOHOLIC TOXICITY

6. อัมพาต (Paresis, Paralysis, Plegia)เป็นอาการไม่ใช่โรค จึงต้องพยายามหาสาเหตุของอัมพาต เช่น มีประวัติ CVA, DRIVER OF MOTORCYCLE HIT BY CAR, CHRONIC RHEUMATOID ARTHRITIS ไม่ว่าจะเกิดมานานเท่าไร

7. ห้ามลงภาวะการเจ็บป่วยอันเกิดแทรกซ้อนหลังผ่าตัด หรือ เกิดภายหลังเข้ารักษาในโรงพยาบาล (เช่น Pneumonia ทุกชนิด, Haemorrhage, Thrombophlebitis, Embolism, Thrombosis, Septicaemia, Cardiac arrest, Acute renal failure, Aspiration, Atelectasis, และ Infarction) เป็นสาเหตุการตาย ให้ลงโรคที่ต้องเข้าผ่าตัดหรือต้องเข้ามารักษาพยาบาล

8. ไม่ลง Hypertension เป็นสาเหตุการตาย ถ้ามีความผิดปกติบางอย่างร่วมด้วย (ให้ลงสาเหตุที่รุนแรงที่สุดในกลุ่มโรคเดียวกัน) - ควรลงเป็น HYPERTENSIVE HEART DISEASES ถ้าหัวใจผิดปกติหรือมี CONGESTIVE HEART FAILURE - ควรลงเป็น HYPERTENSIVE RENAL DISEASES ถ้าไตผิดปกติ เช่น ไตวาย ไตหดเล็กลง - ควรลงเป็น HYPERTENSIVE HEART AND RENAL DISEASES ถ้าทั้งหัวใจและไตผิดปกติ - ควรลงเป็น ISCHEMIC HEART DISEASES ถ้ามีหัวใจขาดเลือด - ควรลงเป็น CVA, STROKE ถ้ามีเส้นเลือดสมองแตกหรือตีบตัน

ถ้ามีการป่วยในกลุ่ม CVD หลายโรค ให้เลือกโรคที่รุนแรงเป็นสาเหตุการตาย เช่น ถ้าพบ ISCHEMIC HEART DISEASES ร่วมกับ โรคหัวใจจากความดันโลหิตสูง โรคไตจากความดันโลหิตสูงหรือหลายโรคพร้อมกัน

9. ไม่ลงสาเหตุการตายเป็น Atherosclerosis ซึ่งเป็นสาเหตุของหลายโรคแต่ลงชื่อโรคไปเลย เช่น HYPERTENSIVE HEART DISEASES, ISCHEMIC HEART DISEASES, CVA, AMI

10. ไม่ลงสาเหตุการตายเป็นไข้หวัด (Common cold) หรือ ALLERGIC RHINITIS หรือ ACUTE BRONCHITIS ถึงแม้จะเป็นเหตุนำของหลายโรค แต่ลงชื่อโรคที่ตามมา เช่น OTITIS MEDIA, ENCEPHALITS, BRAIN ABCESS

11.ไม่ลงลักษณะของการบาดเจ็บ (เช่น HEAD INJURY, POISONING, FRACTURES, HAEMORRHAGE) ต้องลงสาเหตุของการบาดเจ็บหรือเป็นพิษที่เกิดจากเหตุผิดธรรมชาติเป็นสาเหตุการตาย เช่น SUICIDE BY HANGING, HOMICIDE BY GUN SHOT, ACCIDENTAL DROWNING, NATURAL DISASTER

การลงสาเหตุตายผิดธรรมชาติเป็นสาเหตุการตาย มีข้อกำหนดระยะเวลาภายใน 1 ปีแรก ภายหลังเหตุผิดธรรมชาตินั้น ๆ คือ ลงเป็น SUICIDE, HOMICIDE, ACCIDENT (ระบุรายละเอียด), NATURAL DISASTER, ANIMAL ATTACK หากมีความพิการเรื้อรังเกินกว่า 1 ปีให้ลงว่า SEQUELAE OF….

12. ถ้ามีบาดแผลจากอะไรก็ตามแล้วเป็นบาดทะยักตาย ให้ลงสาเหตุตายเป็นTETANUS 13. ถ้าเป็นลมชัก (Epilepsy) แล้วทำให้เกิดอุบัติเหตุ ให้ลงสาเหตุตายเป็น EPILEPSY

ไม่ควรใส่คำศัพท์ที่ไม่มี ในสารบบ ICD10 เช่น Kidney Injury, Hyperactive reaction Chronic lung diseases

ศูนย์ประสานงานการพัฒนาระบบข้อมูลการตาย ติดต่อ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส่วนข้อมูลฯ คุณชูจิตร นาชีวะ โทร 02-590 1491 หากต้องการปรึกษาเรื่องการลงสาเหตุการตาย โทร ติดต่อพ.ญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ มือถือ 081 8273634