ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
Advertisements

งานป้องกันและควบคุมโรค
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
Preview สมุดบันทึก ความดี 3 to 1.
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
นายสมเจตน์ เณรรักษา ทีม IT สสจ.สระแก้ว
การดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
การนำผลการปฏิบัติงานลงสู่แฟ้ม HDC (43 แฟ้ม)
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
นางสาวเพ็ญศรี ท่องวิถี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
ประชุม พยาบาล วันที่ 6 สิงหาคม 56
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
คลินิกไร้พุง ( DPAC) คุณภาพ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
HDC Ncd PLus ธันวาคม 2560.
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
Update data NCD มีนาคม 2560 Update data NCD เดือน มีนาคม 2559.
อ.ดร.พิมพ์ใจอุ่นบ้าน MD.พยาบาลชุมชน เวชปฏิบัติ
สถานการณ์โรคเรื้อรัง
สรุปผลการตรวจราชการฯ
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
การพยาบาลผู้ป่วยใกล้ถึงแก่กรรม
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
อาจารย์สิรินทร เลิศคูพินิจ
เส้นขนาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ

สถานการณ์โรคเบาหวาน ปีงบประมาณ 2560

ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ จากผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจ HbA1c และผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด รายเขตสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560

อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 1 New case DM (A/B) x 100 A = จำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วย เบาหวานรายใหม่ และขึ้นทะเบียนในปีงบประมาณ B = จำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ในปีงบประมาณที่ผ่านมา สูตรคำนวณ 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 1.1 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (Pre-DM) หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับ FBS 100 – 125 mg/dl ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ 1.2 ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ หมายถึง ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ ในปีงบประมาณ โดยการวินิจฉัยของแพทย์ และได้รับการขึ้นทะเบียนในคลินิกโรคเรื้อรัง คำอธิบาย อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ เกณฑ์เป้าหมาย 2.40

ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ ระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ หมายถึง ค่าระดับ HbA1c ครั้งสุดท้าย น้อยกว่า 7 mg% ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ ผู้ป่วยเบาหวานที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ หมายถึง ผู้ป่วยที่ถูกวินิจฉัยด้วยรหัสโรค ICD10 = E10 - E14 และ Type area = 1 และ 3 คำอธิบาย (A/B) x 100 A = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ที่ระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ B = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ สูตรคำนวณ ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามมารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ มากกว่าหรือเท่ากับ เกณฑ์เป้าหมาย 3 Control DM 40%

สถานการณ์โรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2560

ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี เปรียบเทียบปี 2558-2560 เป้าหมาย ร้อยละ 50 ข้อมูล HDC ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2560

ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ Control HT คำอธิบาย สูตรคำนวณ เกณฑ์เป้าหมาย ระดับความดันโลหิตที่ควบคุมได้ตามเป้าหมาย หมายถึง ค่าระดับความดันโลหิต 2 ครั้งสุดท้าย (SBP/DBP) น้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท. (ให้ใช้ข้อมูลจากแฟ้ม CHRONICFU) ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจะมีโรคเบาหวานร่วมด้วยหรือไม่ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ หมายถึง ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการวินิจฉัยโรคด้วยรหัส = I10 - I15 และ Type area = 1 และ 3 (C/D) x 100 C = จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด D = จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตมากกว่าหรือเท่ากับ 50%

ร้อยละผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2560 ข้อมูล HDC: 6 ต.ค.60

อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง New case HT คำอธิบาย อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง (Pre-HT) หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับความดันโลหิต 120-139/80-89 mmHg ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง หมายถึง หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับความดันโลหิต ≥140/90 mmHg ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ และรอการวินิจฉัยของแพทย์ การวัดความดันโลหิตที่บ้าน หมายถึง กลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจความดันโลหิตซ้ำอีกรอบที่นอกหน่วยบริการสุขภาพ โดย อสม.หรือด้วยตนเอง (กรณีที่วัดความดันโลหิตเป็น) ตามแนวทางการวัดความดันโลหิตที่บ้าน* หลังจากมารับบริการการคัดกรองที่โรงพยาบาลแล้ว ภายใน 6 เดือน สูตรคำนวณ (C/D) x 100 C = จำนวนประชากรกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน D = จำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณที่ผ่านมา

การจัดการ.........

New case HT 1 HDC การจัดการข้อมูลระดับพื้นที่มาสู่ส่วนกลาง กรมควบคุมโรค 2 มีการอบรม HBPM ใน Preview Intervention ปีละครั้งในเดือนพฤศจิกายน นี้

ข้อเสนอแนะ

จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนที่ไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ปีงบประมาณ 2560

ร้อยละของของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี

New case HT เป้าประเทศ 468,711 คน 1 เป้าหมายการคัดกรอง10%ของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2561