งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
พญ. ไพลิน ไพสิน, เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลพิจิตร

2 Course outline ความหมายของโรคเรื้อรัง หลักการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
สุขภาพผู้ดูแลผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเด็ก Health belief model Locus of control

3 โรค vs ความเจ็บป่วย Disease vs Illness ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจ LAB
วินิจฉัย ความคิด อารมณ์และความรู้สึก สมรรถภาพ ความคาดหวัง โรค และพยาธิสภาพ อาการป่วย อธิบายเหมือนกันทุกคน เป็นเอกลักษณ์เฉพาะคน

4 Illness ความคิด อารมณ์และความรู้สึก สมรรถภาพ ความคาดหวัง Idea Feeling
Function Expectation ความคิด อารมณ์และความรู้สึก สมรรถภาพ ความคาดหวัง

5 Case 1 หญิง อายุ 47 ปี อาชีพ ขายกับข้าว ผลไม้ DM, HT 6 ปี
Metformin 2X3 pc, Glibenclamide 1X2 ac, HCTZ, Enalapril, ASA FBS , HbA1C 9.6

6 Case 1 หญิง อายุ 47 ปี อาชีพ ขายกับข้าว ผลไม้ DM, HT 6 ปี ถาม
แต่ละวันทำอะไรบ้าง ?

7 ตื่นซื้อของสด ดื่มกาแฟ 3in1
02.00 ตื่นซื้อของสด ดื่มกาแฟ 3in1 Glibenclamide 05.00 เริ่มขาย กินขนม ผลไม้ 10.00 กินข้าว Metformin กินน้ำหวาน 14.00 ถ้าว่าง กินข้าว Metformin 16.00 ไปรับหลานที่โรงเรียน กินขนม ผลไม้ Glibenclamide 20.00 กินข้าวเย็น Metformin 21.00 เข้านอน

8 Case 1 หญิง อายุ 47 ปี อาชีพ ขายกับข้าว ผลไม้ DM, HT 6 ปี
บุตร 3 คน หลาน 2 คน ต้องส่งเสียบุตรคนเล็ก อายุ 15 ปี ปวช.ปี หลาน อายุ 8 ปีและ 6 ปี มารดาอายุ 70 ปี อัมพาต น้องสาวออกจาก งานมาดูแล

9 บทบาทของผู้ป่วย ทำไมคนไข้ไม่ยอมดูแลตัวเอง
มีความรับผิดชอบต่อการดูแลตัวเอง กินยาตามแพทย์สั่ง ปฏิบัติตัวตามคำแนะนำ ไม่ทำให้อาการแย่ลง แนะนำจนปากเปียกปากแฉะแล้ว ก็ไม่เห็นจะทำตาม

10 บทบาท ผู้ป่วย ต่ออาชีพ ต่อครอบครัว : พ่อ/แม่ สามี/ภรรยา ลูก
เมื่อภาระของบทบาทอื่นมีปัญหา บทบาทผู้ป่วย

11 เข้าใจ ... ผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรัง (Care for chronically ill patient)

12 ความแตกต่างของกลุ่มโรค
โรคปัจจุบัน โรคเรื้อรัง โรคที่หมดหวัง ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

13 ลักษณะพิเศษของโรคเรื้อรัง
เป็นข่าวร้าย ชีวิตไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป โรคมีแต่ดำเนินมากขึ้นเรื่อยๆ อาการขึ้นๆลงๆ มีความหวังและสิ้นหวังสลับกัน ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

14 ลักษณะพิเศษของโรคเรื้อรัง
รักษาไม่หาย “แล้วมันจะหายมั้ยหมอ” มีความหวังว่าจะมีชีวิตปกติ ไม่ปกติ ไม่เหมือนคนอื่นสูญเสียการควบคุม

15 การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ความเข้าใจจิตใจและความคิดของผู้ป่วย เฉพาะราย

16 หลักการดูแลผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังและครอบครัว
เข้าใจกลไกครอบครัว วางแผนร่วมกัน สื่อสารต่อเนื่อง หากลุ่มเพื่อนใหม่(Support group) อย่าให้ตกหนักใครคนเดียว ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

17 โรคเรื้อรังในผู้ใหญ่

18 ลักษณะพิเศษของโรคเรื้อรัง
ชีวิตไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป ปรับตัว = เปลี่ยนพฤติกรรม  ยาก

19 ปัจจัยต่อการปรับตัวของผู้ป่วยผู้ใหญ่
ผลกระทบต่อบทบาทหน้าที่เดิม ช่วงระยะที่โรคกลับเป็นซ้ำ การยอมรับการพึ่งพิงสลับกับการเป็นตัวของตัวเอง ความสามารถของครอบครัวในการแยกแยะ “ปกติ” หรือ “ผิดปกติ” ได้ขณะที่ป่วยเรื้อรัง ความรู้สึกผิด ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

20 การประเมินผู้ใหญ่ที่มีโรคเรื้อรัง
วันหนึ่งๆทำอะไรได้บ้าง ชีวิตเปลี่ยนไปอย่างไรตั้งแต่ป่วย รู้สึกอย่างไรที่ต้องมาหาหมอตามนัด หวังผลการรักษาไว้อย่างไร ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

21 เป้าหมายการดูแล ผู้ใหญ่ที่เป็นโรคเรื้อรัง
ให้ทำกิจกรรมที่ผู้ป่วยคิดว่าสำคัญให้ได้มากที่สุด ให้เข้าสังคมได้ใกล้เคียงเดิม ชลอหรือป้องกันทุพพลภาพที่อาจเกิดขึ้น ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

22 แนวทางการดูแลผู้ป่วยผู้ใหญ่ ที่มีโรคเรื้อรังและครอบครัว
เข้าใจความสูญเสีย ประเมินกลไกครอบครัว สนับสนุนให้ครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมแต่แรก ให้สุขศึกษาทีละน้อย แต่บ่อยครั้ง วางแผนควบคุมอาการต่างๆให้สบายที่สุด ประเมินว่ากลับไปทำกิจวัตรในสังคมได้เพียงใด ช่วงอาการกลับซ้ำ ประเมินครอบครัวใหม่ตั้งแต่ต้น ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

23 สรุป การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้มีสุขภาพดีที่สุด
ไม่ใช่การควบคุมโรค(ผลLAB และค่าที่วัด ได้)ให้ได้ตามเกณฑ์ ช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวปรับตัวได้ดีที่สุดใน สถานการณ์ความเครียดเรื้อรัง ปรับเปลี่ยนการรักษาให้เหมาะกับผู้ป่วยแต่ละ ราย ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

24 เมื่อผู้ป่วยมาตรวจติดตามอาการ  ถามสารทุกข์สุกดิบ

25 Case 1 หญิง อายุ 47 ปี อาชีพ ขายกับข้าว ผลไม้
บุตรเริ่มกลับบ้านดึก มีแฟน คบกับเพื่อนที่ สงสัยว่าจะติดยา

26 ปัญหาของครอบครัวผู้ป่วยรายนี้
เบาหวาน ควบคุมไม่ได้ ปัญหาการเงิน ครอบครัวที่มีบุตรวัยเรียนและบุตรวัยรุ่น ครอบครัวผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : เบาหวาน ความ ดัน อัมพาต ผู้ดูแลผู้ป่วยอัมพาต : น้องสาว

27 ตื่นซื้อของสด ดื่มกาแฟ 3in1
02.00 ตื่นซื้อของสด ดื่มกาแฟ 3in1 เริ่มขาย Glibenclamide 05.00 กินขนม ผลไม้ 10.00 กินข้าว Metformin กินน้ำหวาน 14.00 ถ้าว่าง กินข้าว Metformin 16.00 ไปรับหลานที่โรงเรียน กินขนม ผลไม้ Glibenclamide ครึ่งเม็ด 20.00 กินข้าวเย็น Metformin หนึ่งเม็ด 21.00 เข้านอน

28 Case 1 ปริมาณยาลดลง Metformin 2X3 pc, Glibenclamide 1X2 ac,
Metformin pc, Glibenclamide pc FBS , HbA1C 7.8 ใน 1ปี

29 Case 1 : มารดา มารดาเป็นอัมพาตซีกขวามา 3 ปี เดินไม่ได้ ลุกนั่งเองไม่ได้ ทรงตัวนั่งพิงได้ กินเองไม่ได้ เพราะมือสั่นต้องป้อน ขับถ่ายบอกได้บางครั้ง ต้องใส่ผ้าอ้อม ข้อศอก ข้อเข่าด้านที่เป็นอัมพาตเริ่มติด จำคนในบ้านไม่ค่อยได้ จำน้องสาวได้ ชอบ เรียกหาน้องสาว บางครั้งกลางคืนมีพฤติกรรมวุ่นวาย

30 Case 1: มารดา มารดา = ผู้ป่วยอีกคน มีภาวะพึ่งพิง ต้องการการดูแล
ผู้ดูแล ?

31 Case1: ผู้ดูแล น้องคนเล็ก อายุ 33 ปี เคยทำงานโรงงานเสื้อผ้า
ไม่แต่งงาน แต่มีแฟน รปภ.ที่โรงงาน ตั้งแต่ลาออกมาดูแลมารดาแทบไม่ได้พบแฟน ตอนนี้เลิกกันแล้ว ต้องดูแลมารดาทุกวัน ไม่มีใครช่วย เหนื่อยมาก บางคืนไม่ได้นอนเพราะมารดาวุ่นวาย บางครั้ง เบื่อและมีอาการหงุดหงิดใส่มารดา(รู้สึกผิด)

32 Case1: ผู้ดูแล น้องคนเล็ก อายุ 33 ปี
ปวดหลังเพราะต้องพยุงกึ่งอุ้มมารดาทุกวัน สงสารพี่สาวและพี่เขยที่ทำงานหนัก เข้าใจที่ไม่ สามารถมาช่วยดูแลมารดา เครียด รู้สึกเหมือนชีวิตไม่ใช่ของตัวเอง บางครั้ง ร้องไห้โดยไม่มีเหตุผล

33 Case1: ผู้ดูแล Caregiver burden ปัญหาความเหนื่อย ล้าของผู้ดูแล
ซึมเศร้า ปวดหลัง

34 สุขภาพผู้ดูแลผู้ป่วย

35 ปัจจัยต่อความเหนื่อยล้าของผู้ดูแล Caregiver Burden
สภาพผู้ป่วยต้องพึ่งพิงมาก เพศผู้ดูแล : ผู้หญิง อ่อนไหวง่าย สุขภาพผู้ดูแล : อ่อนแอ ป่วย เศร้า หน้าที่รับผิดชอบมาก: ดูแลผู้ป่วย พามาหาหมอ ทำกับข้าว ถูบ้าน เลี้ยงหลาน ฯลฯ ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

36 การดูแลผู้ดูแลผู้ป่วย
เป็นผู้ป่วยที่แฝงอยู่ ประเมิน : เหนื่อย สับสน รู้สึกผิดแค่ไหน ถาม : ได้พักบ้างไหม แผนการเงิน แหล่งที่พึ่งในชุมชน ชวนคุย : เป้าหมายการดูแล คิดอย่างไร อยากให้เป็น อย่างไร ประโยชน์และโทษของการรักษาวิธีต่างๆ ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

37 โรคเรื้อรังในเด็ก

38 ครอบครัวที่มีเด็กป่วยเรื้อรัง
เป็นวิกฤตของครอบครัว วงจรอุบาทว์ (พ่อแม่รู้สึกสูญเสีย + ลูกรู้สึกสูญเสีย) ทั้งบ้านรู้สึกควบคุมสถานการณ์ไม่ได้ วิกฤตหนัก ช่วงโรคกลับซ้ำ รุนแรงกว่า ช่วงวินิจฉัย พ่อแม่มักรู้สึกผิดรุนแรง และ โทษกันเอง ครอบครัวจะแยกตัวจากสังคมปกติ ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

39 ปัญหาการดูแลโรคเรื้อรังในเด็ก
พ่อแม่บงการ เพราะรู้สึกว่าควบคุมสถานการณ์ไม่ได้ เด็กเลี้ยงยาก เพราะพ่อแม่แยกแยะไม่ได้ระหว่าง พัฒนาการเด็กตามวัย กับ ความเจ็บป่วย ยกระดับเด็กป่วย ให้สำคัญที่สุดในบ้านอยู่เสมอ มี เด็กที่ถูกลืม อยู่ในบ้าน ปัญหาของบ้าน เปลี่ยนไปตาม วัยของเด็ก ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

40 มิติการดูแลสุขภาพเด็ก
พ่อแม่เข้มแข็ง เด็กป่วย พ่อแม่เข้มแข็ง เด็กแข็งแรง พ่อแม่เข้มแข็ง เด็กป่วย เด็กแข็งแรง เด็กป่วย พ่อแม่มีปัญหา เด็กแข็งแรง พ่อแม่มีปัญหา พ่อแม่มีปัญหา ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

41 กลไกของบ้านเมื่อเด็กป่วยเรื้อรัง
Sick Kid Parental Grief Child’s Grief Exacerbate illness Parent Guilty Demanding Kid Marital Conflict Manipulative sibling Parent Overindulgence ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

42 แนวทางการดูแลผู้ป่วยเด็ก ที่มีโรคเรื้อรังและครอบครัว
ค้นหาความคิด ความรู้สึกผิดของครอบครัวเกี่ยวกับโรค แก้ไขความเข้าใจผิดของสมาชิกในบ้าน พยายามดำเนินชีวิตปกติ ไม่ให้แยกตัวจากสังคม ส่งเสริมผู้ป่วยเด็กให้ดูแลตัวเองได้มากที่สุด ส่งเสริมความเป็นส่วนตัวของเด็กวัยรุ่น ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

43 การประเมินผู้ป่วยเด็กที่มีโรคเรื้อรัง
วัยของเด็ก พัฒนาการต้องการอะไร วัยของโรค เช่น ช่วงวินิจฉัยใหม่ ช่วงโรคกลับซ้ำ ช่วงทรุดหนัก ช่วงทรงๆ ช่วงฟื้นตัว ความเข้มแข็งของพ่อแม่ ผู้ปกครอง อนาคตของบ้าน ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

44 ประเมินการปรับตัวของผู้ป่วยเด็ก
เก่งด้านไหน โตขึ้นอยากเป็นอะไร มีเพื่อนสนิทกี่คน ใครบ้าง การเรียนเป็นอย่างไรบ้าง คนในบ้านเป็นอย่างไร ดุไหม ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

45 ประเมินการปรับตัวของผู้ปกครอง
รู้สึกผิดหรือเปล่า ความสัมพันธ์ภายในบ้าน ความต้องการของครอบครัว ผลกระทบต่อชีวิตคู่ ความสัมพันธ์กับทีมผู้รักษา ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

46 ป้าระเบียบ หญิงไทยคู่ อายุ 63 ปี อาชีพ รับจ้างร้อยมาลัย
DM 7 ปี HT 5 ปี ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ FBS mg% BP / mmHg

47 ป้าระเบียบ มาทีไรก็เถียงกับพยาบาลทุกที กินยาไม่สม่ำเสมอ หยุดยาเอง บ่อยๆ “ หมอ ยามันกินแล้วก็ไม่เห็นดีเท่าไหร่เลย ไม่กินได้มั้ยหมอ ฉัน เคยลองหยุดแล้วก็ไม่เห็นเป็นไรเลย” BP 155/95 , P 84, FBS 180 HCTZ(25) 1X1, Propanolol(40) 1X1, Metformin(500) 1X3, Glibenclamide(5) 1X1

48 สามีของป้าระเบียบ HT, CHF ต้องหยุดงานบ่อยๆเพราะป่วย ไม่ค่อยดูแลตนเอง ป้าระเบียบต้องคอยเตือนให้กินยาเป็นประจำ

49 เบาหวานควบคุมไม่ได้ กิจวัตรที่ทำ (Activity daily living)
เวลาอาหาร (Meal time) เวลายา (Drug time)

50 ป้าระเบียบ กิจวัตรที่ทำ (Activity daily living) ตื่นแต่เช้าร้อยมาลัยไปเรื่อยๆให้ได้ 200 พวง เวลาอาหาร (Meal time) กินเมื่อหิว ต้องทำงานก่อน เวลายา (Drug time) ถ้าไม่ลืมก็กิน ถ้าวันไหนไม่มีแรงก็ไม่กินยา เพราะถ้ากิน ยาแล้วจะยิ่งไม่มีแรง

51 ถึงจะเป็นเบาหวานมานาน ป้าก็ยังถามว่า
มันจะหายมั้ยหมอ Empathy ความรู้สึกที่อยากจะหาย

52 ผู้ป่วย ความหวัง หมดหวัง
“ แม้จะอยู่กับโรคมานาน แต่เรื่องราวที่เข้ามาในชีวิตแต่ละ ช่วง จะมีผลเปลี่ยนแปลงความคิดอ่านและการกระทำ ของผู้ป่วยอยู่เสมอ”

53 มันจะหายมั้ยหมอ Empathy ความรู้สึก อยากหาย
ความหมายของคำว่า “หาย” ของผู้ป่วย? ถ้า “หาย” แล้ว ชีวิตจะเป็นอย่างไรบ้าง แสดงว่าชีวิตตอนนี้ของผู้ป่วยมีความทุกข์จากโรคจึง อยากหาย

54 ยายลิลลี่ หญิง อายุ 80 ปี DM, HT ประมาณ 20 ปี ควบคุม น้ำตาลไม่ได้ น้ำตาลสูงมากเป็นพักๆ สลับกับอาการน้ำตาลต่ำ

55 เยี่ยมบ้าน ดูแลหลานที่เป็น HIV ขัดแย้งในครอบครัว Dx มะเร็งลำไส้ใหญ่ 14
ดูแลหลานที่เป็น HIV ขัดแย้งในครอบครัว 14 Enalapril Losartan 13 12 11 Dx มะเร็งลำไส้ใหญ่ 10 HT 9 BW 8 Hypoglycemia Mixtard bid Mixtard ac HN hs

56 ครอบครัว Stress

57 ยายลิลลี่ ญาติ เป็นเบาหวาน เสียชีวิตจากอาการน้ำตาลต่ำ
มีน้ำหวานอยู่ข้างเตียงตลอด ทั้งๆที่มีอาการน้ำตาลต่ำกลางดึกบ่อยมาก แต่ DTX ตอนเช้า ยังสูง

58 Somogyi’s phenomenon น้ำตาลต่ำกลางดึก กินน้ำหวาน น้ำตาลสูงตอนเช้า
ปรับเพิ่มยา

59 ยายลิลลี่ ปรับลดอินซูลินลงมาก
ให้ตารางการปรับอินซูลินไป ผู้ป่วยเจาะ DTX ที่บ้านทุกวัน แล้วค่อยๆปรับเพิ่มอินซูลินตาม ตาราง ช่วยผู้ป่วยปรับตัวกับความขัดแย้งในครอบครัว

60 ปัญหาอื่นๆหนักกว่าโรค
DM, HT ควบคุมไม่ได้เลย สาเหตุ ? ปัญหาอื่นๆหนักกว่าโรค ความเชื่อบางอย่าง

61 Illness = เครื่องมือในการทำความเข้าใจผู้ป่วยและแสดงให้ผู้ป่วยเห็นว่าเราเข้าใจ
Idea Feeling Function Expectation ความคิด อารมณ์และความรู้สึก สมรรถภาพ ความคาดหวัง ถามว่าอย่างไรดี

62 “เป็นเบาหวานมา 10 ปีนี่มันทำให้ชีวิตป้าเป็นยังไงบ้าง”
“ โรคเบาหวานมันมีผลกระทบยังไงบ้าง” แย่ ต้องกินยาทุกวัน ก็ไม่เป็นยังไงนี่หมอ

63 “ จะอยู่ยังไงกับเบาหวานของป้าดี มันถึงจะมีความสุข ไม่ อดอยากปากแห้งจนเกินไป และก็ไม่ทรุดจากเบาหวาน เร็วเกินไป”

64 รักษาคนมากกว่ารักษาโรค
สารทุกข์สุขดิบของชีวิต ทำได้จริงแต่ต้องฝึกจนเป็นนิสัย ควบคู่ การกินยากินอาหารตามแพทย์สั่ง

65 Case 4 ชายอายุ 50 ปี อาชีพ ทำนา เคยรับยาที่รพ. ทั่วไปที่ต่างจังหวัด
DM, HT, DLP 5 ปี เคยรับยาที่รพ. ทั่วไปที่ต่างจังหวัด ไม่มารับยา 2 ปีแล้ว วันนี้เป็นหวัดมา 1 สัปดาห์ มารับการรักษา

66 Case 4 6 เดือนแรก แพทย์จ่ายยาหลายชนิด กินแล้ว ไม่มีแรง อ่อนเพลีย ทำงานไม่ไหว ลองหยุดยา แล้วอาการดีขึ้น หลังจากได้ยาเดิมติดต่อกันจึง ไม่ไปพบแพทย์อีก ตอนนี้พยายามไม่กินอาหารมัน ยังดื่มกาแฟ น้ำอัดลม ต้มใบมะรุมกินเองทุกวัน รู้สึกว่าอาการดีขึ้น มือ เท้าชาเล็กน้อยมา 1 ปี

67 Case 4 เคยไปตรวจน้ำตาลที่ รพสต. 200-250 ไม่กังวลกับผลเลือด
มารดา อายุ 75 ปี DM FBS 200 ตลอด แข็งแรงดี บิดา DM เสียชีวิตจากโรคหัวใจเมื่ออายุ 80 ปี พี่สาวและน้องชาย DM แข็งแรงดี

68 Case 4 “ผมไปที่อนามัย หมอบอกว่าทำไมผมไม่ยอม รักษา ตอนนี้ผมรักษาอยู่ ผมกินใบมะรุม ไม่กิน ของมัน ทำงานทุกวัน แล้วผมก็สบายดี”

69 ทำไมคนไข้ทำตัวแบบนี้ (why Behave like this ?)

70 ปัญหาของผู้ป่วยรายนี้
เบาหวานควบคุมไม่ได้ อยากให้ผู้ป่วย : กินยา ควบคุมอาหาร มาตรวจ

71 ความเชื่อเรื่องสุขภาพ (Health Belief Model)
5 องค์ประกอบ : มีแรงจูงใจให้ดูแลสุขภาพตนเอง ตระหนักว่าตนมีความเสี่ยงต่อโรคนั้นๆ ตระหนักว่าถ้าป่วยจะมีผลกระทบมาก ชั่งตวงวัดข้อดีข้อเสียในการมาดูแลสุขภาพ มีตัวกระตุ้น ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

72 ความเชื่อว่าใครควบคุมสุขภาพ (Locus of Control)
ฉันเอง (Internal controller) อำนาจเหนือมนุษย์ (External controller) มนุษย์คนอื่น (Powerful other) ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

73 Case 4 “ผมไปที่อนามัย หมอบอกว่าทำไมผมไม่ยอม รักษา ตอนนี้ผมรักษาอยู่ ผมกินใบมะรุม ไม่กิน ของมัน ทำงานทุกวัน แล้วผมก็สบายดี” ฉันเอง (Internal controller)

74 ฉันเอง (Internal controller)
ข้อเสีย ผู้ป่วยไม่ทำตามคำแนะนำ ผู้ป่วยไม่กินยา ไม่มาตรวจตามนัด ข้อดี ผู้ป่วยดูแลตัวเองอยู่ – ดีมาก ผู้ป่วยตระหนักแล้วว่าตนเองป่วย

75 ฉันเอง (Internal controller) ทำอย่างไรดี?
ขั้นแรก - ชื่นชมที่ผู้ป่วยดูแลตนเอง ไม่ต้องควบคุมผู้ป่วยให้ทำตามเรา แค่ช่วยให้เขาดูแลตัวเองได้ดีขึ้น

76 Case 3 แสดงความเป็นห่วง ไม่กินยาก็ได้ แต่ขอให้มาติดตามการรักษา
วางแผนการรักษาร่วมกับผู้ป่วย ไม่ต่อต้านผู้ป่วย แนะนำเรื่องอาหารทีละน้อย มีจดหมายให้ผู้ป่วยตรวจ FBS ทุกวัน 1 สัปดาห์

77 Case 3 ผู้ป่วยสังเกตว่า วันที่ดื่มน้ำอัดลม FBS จะสูงกว่า วันอื่น หยุดดื่มน้ำอัดลม ต่อรอง เริ่มกินยา ระวัง –เคยหยุดยาเพราะอาการhypoglycemia ปัจจุบัน Metformin 1X2, Glipizide 0.5X1 ไม่มีอาการผิดปกติ

78 ป้าระเบียบ มาทีไรก็เถียงกับพยาบาลทุกที กินยาไม่สม่ำเสมอ หยุดยาเอง บ่อยๆ “ หมอ ยามันกินแล้วก็ไม่เห็นดีเท่าไหร่เลย ไม่กินได้มั้ยหมอ ฉัน เคยลองหยุดแล้วก็ไม่เห็นเป็นไรเลย” BP 155/95 , P 84, FBS 180 HCTZ(25) 1X1, Propanolol(40) 1X1, Metformin(500) 1X3, Glibenclamide(5) 1X1

79 ป้าระเบียบ หยุดยาทุกชนิด
แต่ต้องมาพบแพทย์ทุกสัปดาห์เพื่อวัดความดันและเจาะ DTX DTX premeal 250 mg% ผู้ป่วยสังเกตเห็นว่า ปัสสาวะบ่อยขึ้น ขี้เกียจลุกไปห้องน้ำ BP 165/90 mmHg ผู้ป่วยคนอื่นๆที่มาตรวจทักว่า ความดันสูงมาก ผู้ป่วยเสนอเองว่า “ลองกินยาความดันกับเบาหวาน อย่างละตัวได้มั้ยหมอ”

80 ป้าระเบียบ ใช้เวลา 1 ปี ในการปรับยา และกินยาอย่างสม่ำเสมอ
แต่ก็ยังกินอาหารตามแต่ที่อยากจะกินอยู่ 4 เดือนก่อน ป่วยเป็นไข้ เวียนศีรษะมากจนต้อง admit 3 วัน หลังจากนั้นเริ่มกลัวตาย จึงเริ่มควบคุมอาหารและ ลดน้ำหนักลง

81 อำนาจเหนือมนุษย์ (External controller)
“ ช่วงนี้สุขภาพก็แย่ อะไรๆก็แย่ไปหมดเลยหมอ เพราะไป หาหมอ(ดู)ที่นับถือ เค้าบอกปีนี้จะมีเคราะห์หนัก เจ้า กรรมนายเวรจะมาทวงคืน อย่างความดันก็คุมไม่ได้เลย แย่ไปหมด”

82 อำนาจเหนือมนุษย์ (External controller)
ข้อดี ข้อเสีย

83 “ เรื่องอาหารที่หมอไม่ให้กินเนี่ย แฟนผมเขาดูให้ เขาเป็นคน ทำกับข้าว ส่วนยาน่ะ ผมลืมประจำ ต้องให้แฟนเขาคอย เตือน ก็ได้เขาแหละช่วยดูแล ไม่อย่างนั้นไม่รู้จะเป็นยังไง บ้าง” มนุษย์คนอื่น (Powerful other) “ ไม่เป็นไรหมอ แล้วแต่หมอเลย เรื่องยาเรื่องสุขภาพคนเรา ต้องเชื่อหมออยู่แล้ว ไม่เชื่อหมอแล้วจะเชื่อใครล่ะ”

84 มนุษย์คนอื่น (Powerful other)
ข้อดี ข้อเสีย

85 ระยะการเปลี่ยนพฤติกรรม
( From Prochaska JO. Am Psychol 1992;47(9): ) Maintenance Relapse ACTION Preparation Contemplation Precontemplation ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

86 จะดูแลอย่างไรเมื่อเจอ difficult pt.
ฟังด้วยใจ ไม่ใช่ฟังด้วยหู [Active listening] รู้จักเรื่องราวของเขาให้มากขึ้น ไม่ต้องสนใจเรื่องโรคที่คุมไม่ได้ เข้าใจเห็นใจในสิ่งที่เขาสูญเสีย ให้กำลังใจ ทบทวนวินิจฉัยและปรับการรักษาใหม่ ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์

87 Thank You


ดาวน์โหลด ppt การดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google