การดำเนินการ CIPO Sepsis เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรงพยาบาลปราสาท PCT อายุรกรรม.
Advertisements

สุรัตน์ มนต์ประสาธน์ RN ICU
การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer
SEPSIS.
Role of nursing care in sepsis
Cardiac Center Maharatnakhonratchasima Hospital service plan 2016
กรอบการวิเคราะห์การพัฒนา ปี 2559 รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ กลุ่มงานโยบายและ แผน รพ. ชร.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
Free Powerpoint Templates Page 1 นพ. เกรียงศักดิ์ พิมพ์ดา ประธานคณะกรรมการฯ.
Service Plan สาขาสูติกรรม
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2561สู่ MOPH 4.0.
Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง.
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์
คณะที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ การบริหารการเงินการคลัง
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
ชีวิตหลังจบมหาวิทยาลัย = 0 เล่าให้น้อง ๆ โดยพี่ยักษ์ (จตุพร สวัสดี)
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
Promoter - Supporter -Coordinator-Regulator
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
การประชุมคณะทำงานการดูแลผู้ป่วย โรคติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis) จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและเครือข่ายสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก.
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
CEO, CCO MIS MIS MIS ณ 2 พค 60 จังหวัดพิจิตร สังคมสุขภาพดี CIPO CIPO
การศึกษาผลการทำแผล BLEB ด้วยวิธีดูดน้ำออกโดยปราศจากเชื้อ
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การแต่งกายของเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานสาธารณสุข
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
เครือข่ายบริการ สุขภาพ อำเภอแม่ฟ้าหลวง
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินการ CIPO Sepsis เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 27 เมษายน 2560

ประเด็นปัญหาการดูแลผู้ป่วย Sepsis เขตสุขภาพที่ 1 ขาดความตระหนักของชุมชน มี Sepsis fast tract ไม่ครบทุกสถานบริการ ไม่สามารถส่งต่อผู้ป่วยไปรพ.ที่มีศักยภาพสูงกว่าได้ภายใน1 ชั่วโมง ไม่มี ICU ที่มีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วย septic shock ระบบข้อมูลยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ

CIPO Sepsis เป้าหมาย สถานการณ์ (Gap) มาตรการ ปี60 ปี61 ปี62 ปี63 ปี64 เพื่อลดอัตราตายและภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย sepsis / sepsis shock 1. อัตราป่วย = 9.3 ต่อแสนประชากร 2. อัตราป่วยตายCommunity acquired = 11.14% 3. อัตราป่วยตายHospital acquired = 40% รพ.ทุกรพ.ในเขตบริการสุขภาพที่ 1 สามารถลงข้อมูลใน Sepnet 1 ครอบคลุม 100% รพ. M มี ICU จำนวน 4 เตียง รพ. A/S มีแพทย์เฉพาะทางโรคติดเชื้อ 2คน รพ. F มีแพทย์ทั่วไป 4คน อัตราตาย sepsis /sepsis shock < 30 %   มีชุดตรวจ serum lactate ให้ครอบคลุมทุกรพ. รพ. M/F มีการฝึกอบรมพยาบาล การดูแลผู้ป่วยวิกฤติ และผู้ป่วยหนักเบื้องต้นได้ มีแพทย์เวชบำบัดวิกฤติ 2คน อบรมพยาบาล การดูแลผู้ป่วยวิกฤติ รพ. M มีแพทย์สาขาอายุรกรรมทั่วไป 2 คน

เป้าหมายในการดำเนินงาน ประจำปี 2560 CIPO.....Sepsis.................... สถานการณ์ (Gap) มาตรการ ปี 60 KPI Essential Task ผู้รับผิดชอบ 3เดือน 6เดือน 9เดือน 12เดือน 1. อัตราป่วย = 9.3 ต่อแสนประชากร 2. อัตราป่วยตายCommunity acquired = 11.14% 3. อัตราป่วยตายHospital acquired = 40% 1. ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงาน อัตราตาย sepsis/septic shock < 30 % รพ.ทุกรพ.ในเขตบริการสุขภาพที่ 1 สามารถลงข้อมูลใน Sepnet 1 ครอบคลุม 100% ทุกรพ.(M2)มีเครื่องตรวจ serum lactate - ส่ง H/C > 80 % ผู้ป่วย sepsis สามารถเข้า Fast track > 50% อัตราตาย sepsis / sepsis shock < 30 % คณะกรรมการ cipo sepsis 8 จังหวัด   2.ประชุมแพทย์และพยาบาลสาขาอายุรกรรมทุกโรงพยาบาล จังหวัด 3.พัฒนาโปรแกรม sepnet 1 4.เพิ่มศักยภาพการดูแลผู้ป่วย sepsis

กิจกรรมที่ 1การประชุมคณะกรรมการ Service plan สาขาอายุรกรรม จำนวน 50คน แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณตามแผนงาน/โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan สาขาอายุรกรรม (sepsis) เขตสุขภาพที่ 1 โครงการ ประเภทรายจ่าย ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย รวม กิจกรรมที่ 1การประชุมคณะกรรมการ Service plan สาขาอายุรกรรม จำนวน 50คน 1.ค่าใช้จ่ายในการ ประชุม/อบรม/สัมมนา/ดูงาน ในประเทศ   9,500 7,500 17,000 กิจกรรมที่ 2 ประชุมแพทย์และพยาบาลสาขาอายุรกรรมทุกโรงพยาบาล 8จังหวัด 1.1อาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม 11,000 34,000 122,000 รวมงบประมาณ กิจกรรมที่ 3 พัฒนาโปรแกรม sepnet 1 ค่าจ้างเหมาบริการ 30,000 กิจกรรมที่ 5 เพิ่มศักยภาพการดูแลผู้ป่วย sepsis 3. ค่าใช้สอยและค่าวัสดุ (จ้างเหมาบริการ......(ระบุ) เช่น 3.1 ค่าวัสดุการแพทย์(ซื้อร่วมจังหวัด) ขวดH/C จำนวน 24,000ขวด (ขวดละ 200บาท) ชุดตรวจ serum lactate จำนวน 6,000 ชุด (ขวดละ 100บาท) 169,000.00

ผลการดำเนินงานตามแผน 1. ประชุมคณะกรรมการ Service plan (เชียงใหม่ 6 ก.พ.60) 2.การพัฒนาศักยภาพแพทย์รพช. : US เพื่อประเมิน IVC ลำปาง เชียงราย เชียงใหม่ 3. การพัฒนาศักยภาพพยาบาล ลำปาง เชียงราย เชียงใหม่ แพร่ พะเยา 4.พัฒนาระบบ Sepnet 1 *ขวด H/C และชุดตรวจ serum lactate รอ สสจ. ประสานงานการซื้อร่วมในจังหวัด

ประชุม Sepsis เชียงราย 23 ม.ค.60

ประชุม Sepsis เขต 1 เชียงใหม่ 6 ก.พ.60

อบรมแพทย์พยาบาล เชียงใหม่

USG ประเมิน Volume จาก IVC

KPI ร้อยละการทำ H/C ก่อนให้ IV Antibiotic > 90 ร้อยละการได้รับ Antibiotic (door to needle time) ภายใน 1 ชั่วโมง > 90 ร้อยละการได้รับ สารน้ำ อย่างน้อย 1500 cc ใน 1 ชั่วโมง หลังการวินิจฉัย septic shock > 90 ร้อยละการได้ย้ายเข้า ICU ของ severe sepsis/septic shock จาก ER > 30 อัตราป่วยตาย severe sepsis/septic shock < 30%

ผลการดำเนินการรายเขต

ผลการดำเนินการรายจังหวัด

H/C ก่อนให้ ABO 2559Q2 2559Q3 2559Q4 2560Q1 เชียงใหม่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน 323/500 266/456 199/282 183/245 ลำพูน 108/192 152/414 102/157 150/216 แม่ฮ่องสอน 40/62 55/80 39/45 29/44 ลำปาง 414/499 362/490 349/485 319/449 แพร่ 176/266 147/229 169/232 140/203 น่าน 165/195 183/238 158/199 129/150 เชียงราย 613/747 434/598 360/485 398/485 พะเยา 301/415 210/286 210/256 181/225 เขต1 2140/2876 1809/2791 1586/2124 1529/2017

H/C ก่อนให้ ABO

ABO ใน 1 hr 2559Q2 2559Q3 2559Q4 2560Q1 เชียงใหม่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน 239/500 229/456 152/282 146/245 ลำพูน 90/192 241/414 83/140 100/216 แม่ฮ่องสอน 37/62 36/80 25/45 24/44 ลำปาง 287/499 263/490 216/485 186/449 แพร่ 133/266 113/229 109/232 94/203 น่าน 120/195 119/238 111/199 84/150 เชียงราย 451/747 377/598 317/485 309/485 พะเยา 209/415 167/286 158/256 142/225 เขต1 1566/2876 1545/2791 1171/2124 1085/2017

ABO ใน 1 hr

IVF >30 ml/kg ใน 1 hr 2559Q2 2559Q3 2559Q4 2560Q1 เชียงใหม่ ลำพูน 107/175 108/200 49/104 31/77 ลำพูน 10/40 25/103 12/60 15/59 แม่ฮ่องสอน 16/18 12/33 9/20 7/15 ลำปาง 144/213 151/264 121/249 81/208 แพร่ 58/122 49/114 49/109 44/107 น่าน 41/106 69/153 61/113 42/89 เชียงราย 144/242 156/293 130/251 101/208 พะเยา 25/85 33/86 21/70 9/48 เขต1 545/1001 603/1246 452/976 330/811

IVF >30 ml/kg ใน 1 hr

ICU ใน 3 hr 2559Q2 2559Q3 2559Q4 2560Q1 เชียงใหม่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน 57/175 29/200 11/104 6/77 ลำพูน 24/40 28/103 11/60 15/59 แม่ฮ่องสอน 3/18 0/33 4/20 2/15 ลำปาง 8/213 9/264 18/24 21/208 แพร่ 6/122 2/114 5/109 5/107 น่าน 16/106 18/153 18/113 10/89 เชียงราย 30/242 25/293 14/251 11/208 พะเยา 8/85 3/86 2/70 1/48 เขต1 152/1001 114/1246 83/976 71/811

ICU ใน 3 hr