งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer
Stroke Sepsis Mass Casualty นพ.ธานินทร์ โลเกศกระวี วว.เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 28-29 เมษายน 2557

2 การส่งต่อผู้ป่วย Stroke fast track โดยใช้โปรแกรม ThaiRefer

3 ขั้นตอนการดูแลรักษา Stroke
CT, lab ถึงรพศ. (door) result ล้อหมุน rt-PA รพช. onset + D-N time < 60 นาที Golden period ชั่วโมง

4 การ activate stroke fast track ก่อนการส่งต่อ
ข้อดี ผู้ป่วยได้รับการดูแลรวดเร็ว ขึ้น ลดระยะเวลารอคอย Door-to-needle time เร็ว ขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนจากการ ให้ยาละลายลิ่มเลือดช้า ข้อด้อย Activate แม่นยำเกิน (spec สูงเกิน)  ผู้ป่วยอาจ เสียโอกาสได้รับยาละลายลิ่มเลือด Activate พร่ำเพรื่อ (sensitivity สูงเกิน)  เพิ่ม ภาระงาน , ถูกต่อว่าจากรพ. ปลายทาง

5 การ activate stroke fast track ก่อนการส่งต่อ
รพศ.ลำปาง ใช้เวลาใน การเตรียมผู้ป่วย, ทำ CT, รอผล CT, รอผล เลือด, ฉีดยา rt-PA รวมประมาณ 1 ชม. Golden period = 4.5 ชม. หักลบออก 1 ชม. เหลือ = 3.5 ชม. ก่อนมารพศ.ลำปาง

6 ระยะเวลาเดินทางระหว่างโรงพยาบาล (75th percentile)
ทำการเก็บสุ่มตัวอย่าง โรงพยาบาลละ 15 ตัวอย่าง คำนวณระยะเวลาเดินทาง ค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 75th ไกลสุด : รพ.วังเหนือ 88 นาที ใกล้สุด : รพ.เกาะคา 21 นาที โรงพยาบาล ระยะทาง เวลาเดินทาง (75th percentile) วังเหนือ 116 กม. 88 นาที แม่พริก 118 กม. 77 นาที เถิน 88 กม. 65 นาที งาว 85 กม. เมืองปาน 65 กม. 60 นาที แจ้ห่ม 64 กม. 50 นาที สบปราบ 50 กม. 45 นาที เสริมงาม 36 กม. 36 นาที ห้างฉัตร 19 กม. 24 นาที แม่ทะ 25 นาที แม่เมาะ 17 กม. เกาะคา 16 กม. 21 นาที

7 + รพช. ขั้นตอนการดูแลรักษา CT, lab ล้อหยุดถึงรพศ. result onset ล้อหมุน
rt-PA รพช. onset to รพช. บริหารจก.ล้อหมุน Duration (D) 60 นาที Onset to ล้อหมุน + Golden period 4.5 ชม.(G1) , 3 ชม.(G2)

8 การส่งต่อผู้ป่วย Stroke fast track โดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer
ในระบบส่งต่อจังหวัดลำปาง

9 ข้อมูลพื้นฐานและอายุ จะขึ้นโดยอัตโนมัติ
ใส่ HN รพช. กรอก onset Check ข้อห้าม กดปุ่ม Decision making

10 ตอบ Yes เพื่อ “activate stroke fast track”
= √ ทันเวลา ตอบ Yes เพื่อ “activate stroke fast track” ท่านสามารถบริหารจัดการให้ล้อหมุนภายใน 22:39 หรือไม่ วันเวลาที่เกิดอาการขึ้นอัตโนมัติ กดปุ่ม Decision making Management ที่กำหนดตามแนวทาง ขึ้นอัตโนมัติ พิมพ์ใบนำส่ง กดบันทึกเพื่อส่งข้อมูล Diagnosis ขึ้นอัตโนมัติ ขณะนี้เวลา 22:33

11 ข้อมูลทั้งหมดขึ้นโดยอัตโนมัติ
ใบนำส่ง ข้อมูลทั้งหมดขึ้นโดยอัตโนมัติ

12 ชื่อผู้ป่วยขึ้นที่ LCD monitor พร้อมคำนวณเวลาถึงโดยอัตโนมัติ

13 พิจารณายกเลิก stroke fast track กดปุ่ม Decision making
กรณีไม่ทันเวลา = X ไม่ทัน ตอบ “No” เพื่อยกเลิก ท่านสามารถบริหารจัดการให้ล้อหมุนภายใน 22:09 หรือไม่ Onset 19:00 พิจารณายกเลิก stroke fast track กดปุ่ม Decision making ขณะนี้เวลา 23:03

14 Tab ส่งต่อเฉพาะโรค ถูกลบโดยอัตโนมัติ
Tab ส่งต่อทั่วไป ตั้งค่าแบบ stroke ทั่วไป โดยอัตโนมัติ

15 การดูแลผู้ป่วย Sepsis โดยใช้โปรแกรม ThaiRefer

16 อัตราการเสียชีวิต (ร้อยละ) ของผู้ป่วย Sepsis จังหวัดลำปาง
เฉลี่ยต่อปี 37.45% ร้อยละ

17 tube เลือดที่สำคัญใน Sepsis
DTX stat CBC BUN/Cr, Electrolyte H/C x 2 spp. ควร take H/C ก่อน start antibiotic ทุกราย ยกเว้นถ้าหากทำให้เกิดความ ล่าช้าในการ start antibiotic เกิน 45 นาที

18 ปริมาณเลือดที่ใส่ในขวด Hemoculture
อย่างน้อย 10 ml ในแต่ละขวด Mermel LA, Maki DG: Detection of bacteremia in adults: Consequences of culturing an inadequate volume of blood. Ann Intern Med 1993; 119:270–272

19 ระบบส่งต่อจังหวัดลำปาง
สรุป tube เลือดในโรคสำคัญ ระบบส่งต่อจังหวัดลำปาง

20 การส่งต่อผู้ป่วยโดยใช้โปรแกรม ThaiRefer v.1.5
upload 16 กรกฎาคม 2556

21 กดส่งต่อเฉพาะโรค “Sepsis”

22 ข้อมูลเฉพาะโรค “Sepsis”
ใส่ HN รพช. ข้อมูลเฉพาะโรค “Sepsis”

23 ข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วยขึ้นอัตโนมัติ

24 กรอก V/S, CC/PI, Clinical syndrome
Diagnosis, ICD-10 ขึ้นอัตโนมัติ

25 กรณี Sepsis + BP drop หรือ Blood lactate > 4 mmol/L จะต้อง load NSS อย่างน้อย 30 ml/kg

26 อย่าลืมใส่เวลาล้อหมุน
กรณี load NSS, Dx, start ABO, ทำ central จะขึ้นในช่อง management โดยอัตโนมัติ อย่าลืมใส่เวลาล้อหมุน

27 การบันทึกเวลาใน Sepsis Bundles at ICU/RCU/ ward

28 ICU/RCU/ward จะลงเวลา Sepsis Bundles ให้
เวลาในแต่ละช่วง คำนวณอัตโนมัติ

29 Analysis Sepsis Bundles
เลือก Final Clinical syndrome ก่อน แล้วกดปุ่ม Analyze จะทำการวิเคราะห์ตามตัวชี้วัด 25

30 Take home messege BP drop  Load NSS อย่างน้อย 30 ml/kg
ก่อนพิจารณา vasopressor Levophed (Norepinephrine) is prefered ต้อง H/C x 2 spp. ก่อน start Antibiotic H/C เลือดใช้อย่างน้อย 10 ml ต่อขวด แนะนำเจาะเลือด peripheral x 2 site ต่างตำแหน่งกัน กรณี severe sepsis + septic shock  ต้องให้ antibiotic ภายใน 1 ชม. (หลังจาก Dx) อย่าลืมลงเวลาในแต่ละขั้นตอน

31 Mass Casualty

32 Create METHANE

33 บันทึกรายชื่อผู้บาดเจ็บ

34 กรณี Refer  พิมพ์ใบส่งตัวได้

35 ระบบ HN Syncronization

36 รายชื่อผู้บาดเจ็บในเหตุนั้นๆ

37 ดูผ่าน Smart phone ได้

38

39 แสดงรายชื่อให้ญาติทราบ

40

41


ดาวน์โหลด ppt การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google