งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การศึกษาผลการทำแผล BLEB ด้วยวิธีดูดน้ำออกโดยปราศจากเชื้อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การศึกษาผลการทำแผล BLEB ด้วยวิธีดูดน้ำออกโดยปราศจากเชื้อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การศึกษาผลการทำแผล BLEB ด้วยวิธีดูดน้ำออกโดยปราศจากเชื้อ
คณะกรรมการวิจัยหอผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลลำพูน

2 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การดูแลผู้ป่วยทั่วไปและผู้ป่วยวิกฤตของโรค ต้องเฝ้าระวังทุกระบบของร่างกาย ผิวหนังเป็นระบบหนึ่งที่เราต้องให้การดูแลรักษาเป็นพิเศษเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น การเกิดแผล Bleb (ตุ่มน้ำ/ตุ่มเลือด) และมีการติดเชื้อลุกลามมากขึ้น

3 วัตถุประสงค์ ศึกษาผลของการทำแผล bleb (ตุ่มน้ำ/เลือด) ด้วยวิธีดูดน้ำออกโดยปราศจากเชื้อ

4 สมมติฐานการวิจัย การทำแผล bleb(ตุ่มน้ำ/เลือด) ด้วยวิธีดูดน้ำ ออกโดยปราศจากเชื้อทำให้ระยะเวลาการหาย ของแผลลดลง

5 ชนิดของการศึกษา วิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experiment)

6 สถานที่ทำการศึกษา ห้องผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลลำพูน

7 ประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีแผล bleb (ตุ่มน้ำ/เลือด) ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก กลุ่มตัวอย่าง เป็นการเลือกแบบเฉพาะเจาะจงในผู้ป่วยทุกรายที่มีแผล blebที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก จำนวน 20 ราย

8 ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูล
เดือน มกราคมถึงมีนาคม 2553

9 ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การทำแผล bleb ตัวแปรตาม ได้แก่ ระยะเวลาการหายของแผล bleb

10 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การเกิดแผล bleb การหายของแผล bleb หลักการสำคัญของการทำความสะอาดแผล bleb

11 เครื่องมือในการศึกษา
รูปแบบการทำแผล bleb ด้วยวิธีดูดน้ำออกโดยปราศจากเชื้อ แบบสังเกตการหายของแผล

12 การดำเนินการเก็บข้อมูล
ระยะที่ 1 เป็นการเตรียมพยาบาลในหอผู้ป่วยหนัก ระยะที่ 2 นำวิธีการทำแผล bleb ไปใช้กับผู้ป่วย ระยะที่ 3 ลงบันทึกในแบบสังเกตการหายของแผล

13 การดำเนินการเก็บข้อมูล
ระยะที่4 รวบรวมสถิติ ระยะที่ 5 นำข้อมูลมาวิเคราะห์และทำแบบรายงานเสนอ

14 หลักการทำแผล bleb ทำความสะอาดรอบๆแผลด้วย Alcohol 70%

15 ทำความสะอาดแผลด้วยโพวิดีน ใช้เข็ม No
ทำความสะอาดแผลด้วยโพวิดีน ใช้เข็ม No และ Syringe ดูดน้ำ/เลือดออก อย่างปราศจากเชื้อ

16 ทำความสะอาดแผลหลังดูดน้ำ/เลือดออก ด้วย 0.9% NSS

17 ปิดแผลด้วยBactigras ตามความกว้างของแผล

18 ปิดก๊อส 2-3 ชั้นและปิด Opsite Flexifix แผลทิ้งไว้ 3 วัน เปิดแผล ถ้าแผลแห้งเปิดแผลไว้ และถ้าแผลยังมี Dischage ซึม ทำการล้างแผลต่อตามขั้นตอนเดิมปิดแผลจนครบ วัน เปิดแผล ถ้าแห้งเปิดแผลไว้ และถ้าแผลยังมีDischageซึม ทำการล้างแผลต่อ จนกว่าแผลจะหาย

19 ผลการศึกษา

20 ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามอายุ เพศ ของผู้ป่วย
จากตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามอายุ เพศ ของผู้ป่วย พบว่ามีอายุมากที่สุด อยู่ในช่วง ปี คิดเป็นร้อยละ 50 และเป็นเพศชายมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 60

21 ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามรายโรค
DM Septic Shock Pneumonia Sepsis CHF Meningitis UGIH ARDS MI Thalamic Hemorrhage 5 4 2 1 25 20 10 จากตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามรายโรค ที่พบมากที่สุดคือ DM จำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 25 รองลงมาคือ Septic Shock จำนวน 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 20

22 ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของประชากร จำแนกตามตำแหน่งและระยะเวลาการหายของแผล
ตำแหน่งของการเกิดแผล bleb จำนวน (ราย) ระยะเวลาการหายของแผล bleb 3 วัน ระยะเวลาการหายของแผล bleb ภายใน 4-7 วัน ระยะเวลาการหายของแผล bleb มากกว่า 7 วัน สะโพก ขา แขน ข้อมือ หลัง หน้าท้อง ข้อเท้า 8 2 5 1 - 3 รวม 20 10 ร้อยละ 100 40 50 จากตารางที่ 3 จำนวน ร้อยละของประชากร จำแนกตามตำแหน่งและระยะเวลาการหายของแผล พบว่าแผล blebที่ใช้ ระยะเวลาการหายของแผล 3 วัน จำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ40 และใช้ระยะเวลาการหายของแผลภายใน 4-7 วัน จำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 50 ส่วนใหญ่พบบริเวณสะโพกจำนวน 8 ราย ใน 20 ราย

23 ตัวอย่างแผลที่ทำการศึกษา
แผลก่อนทำ แผลหลังทำ

24 แผลก่อนทำ แผลหลังทำ

25 สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาแผล bleb ด้วยวิธีดูดน้ำออกโดยปราศจากเชื้อพบว่า แผล blebที่ใช้ระยะเวลาการหายของแผล 3 วัน จำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ40 และใช้ระยะเวลาการหายของแผล 4-7 วัน จำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 50 รวมแล้วอยู่ในเกณฑ์ที่ตั้งไว้คิดเป็นร้อยละ 90 ดังนั้นจะเห็นได้ว่าร้อยละ 40 ของกลุ่มตัวอย่างมีระยะเวลาการหายของแผลที่น้อยกว่า 7 วัน ซึ่งเป็นระยะเวลาการหายของแผล bleb ทั่วไป( ) ร้อยละ 50 อยู่ในช่วง 4-7 วัน แสดงให้เห็นว่าประมาณร้อยละ 90 ของการศึกษามีการหายของแผลที่อยู่ในช่วงเวลาปกติ ปรากฎการณ์นี้แสดงให้เห็นว่าเทคนิคการทำแผลดังกล่าวส่งผลต่อการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่จะทำให้แผลหายช้ากว่ากำหนด

26 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา
การทำแผล bleb(ตุ่มน้ำ/เลือด) ด้วยวิธีดูดน้ำออกโดยปราศจากเชื้อ ทำให้ลดระยะเวลาการหายของแผล

27 ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้
ให้นำผลการวิจัยในครั้งนี้ไปใช้ในทางปฏิบัติเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากการแตกหรือฉีกขาดของแผล bleb ที่จะส่งผลให้เกิดการติดเชื้อเข้าสู่แผล

28 กิตติกรรมประกาศ การศึกษาครั้งนี้สำเร็จตามวัตถุประสงค์เป็นอย่างดีเนื่องจากได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลลำพูน หัวหน้ากลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลลำพูน ดร.มุกดา สีตลานุชิต ผศ.สิริรัตน์ จันทรมะโน คณะกรรมการวิจัย

29 สวัสดีค่ะ สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การศึกษาผลการทำแผล BLEB ด้วยวิธีดูดน้ำออกโดยปราศจากเชื้อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google