ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม หรือ เสรีนิยม (Capitalism) ระบบการแข่งขันมีค่อนข้างมาก การดำเนินการอาศัยกลไกราคาหรือระบบตลาด ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม หรือ เสรีนิยม (Capitalism) บทบาทของรัฐในทางเศรษฐกิจมีน้อยมาก (Laissez-Faire) เอกชนมีเสรีภาพที่จะเลือกประกอบอาชีพ เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเกือบทุกๆอย่าง
ข้อดี ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม หรือ เสรีนิยม (Capitalism) เอกชนมีเสรีภาพในการเลือก & ตัดสินใจในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ มีเรื่อง กำไรและระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเป็นแรงจูงใจในการทำงาน
ข้อเสีย ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม หรือ เสรีนิยม (Capitalism) การแข่งขัน ทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ อย่างสิ้นเปลือง การเหลื่อมล้ำอันเนื่องมาจากความสามารถที่แตกต่างกันในแต่ละ บุคคล โดยเฉพาะทุน การจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ บางเรื่องกลไกตลาดทำได้ไม่ดี
รัฐเข้าดำเนินการในอุตสาหกรรมสำคัญๆ และอุตสาหกรรมพื้นฐานทั้งหมด ผู้บริโภคมีอิสระในการเลือกซื้ออะไรก็ได้ที่ต้องการ โดยรัฐบาลจะพยายามจัดสวัสดิการต่างๆ โดยเฉพาะที่จำเป็นให้ มีหน่วยวางแผนส่วนกลางทำหน้าที่ควบคุมการดำเนินงาน ระบบ เศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism) รัฐเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เป็นระบบเศรษฐกิจที่ วางแผนจากส่วนกลาง (Centrally Planned Economy) มักใช้ในประเทศที่ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
ข้อดี ระบบ เศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism) ช่วยลดปัญหาการเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้ของบุคคลใน สังคม สามารถควบคุมการใช้ทรัพยากร ไม่ให้สิ้นเปลืองมากเกินไปได้ การใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ
ข้อเสีย ระบบ เศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism) สินค้า มีคุณภาพไม่ดี เนื่องจากไม่มีการแข่งขัน ประชาชนไม่มีเสรีภาพในการผลิตหรือบริโภคอะไรได้ตามใจ
เอกชนมีเสรีภาพและกรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน เอกชนมีเสรีภาพและกรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน ระบบกลไกราคามีผลอยู่บ้างในระบบเศรษฐกิจนี้ ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม(socialism) รัฐจะเป็นผู้ครอบครองทรัพยากรพื้นฐานไว้เกือบทั้งหมด แต่อย่างไรก็ตามรัฐยังให้เสรีภาพแก่ประชาชนบ้างพอสมควร เป็นระบบที่ใกล้เคียงกับระบบคอมมิวนิสต์
ข้อดี ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม(socialism) ช่วยลดปัญหาการเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้ เอกชนมีสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน
ข้อเสีย ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม(socialism) โอกาสที่จะขยายการผลิตหรือพัฒนาคุณภาพการผลิตเป็นทำได้อย่างลำบากกว่าแบบระบบทุนนิยมเสรี การผลิตถูกจำกัดเพราะต้องผลิตตามที่รัฐกำหนด
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ( Mixed Economy ) นำกลไกราคา และระบบการแข่งขันของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีมาใช้ในส่วนของแบบสังคมนิยมนำระบบการวางแผนจากส่วนกลางมาใช้ เกิดจากการที่ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีหรือ แบบสังคมนิยมต่างก็มีข้อดีและข้อเสีย จึงนำเฉพาะส่วนที่ดีของแต่ละแบบมาร่วมกัน
เสรีนิยมทุนนิยม แบบผสม สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ ระบบเศรษฐกิจ
พบได้ในทุกระบบเศรษฐกิจ ทั้งแบบเสรีนิยม และ สังคมนิยม รัฐสวัสดิการ เป็นรูปแบบหนึ่งที่ถือว่ารัฐบาลมีหน้าที่ในการจัดหาสวัสดิการต่างๆ ให้แก่ประชาชน เพื่อให้มีความเป็นอยู่ไม่ด้อยไปกว่าระดับต่ำสุดของมาตรฐานการครองชีพที่ทุกคนควรได้รับ พบได้ในทุกระบบเศรษฐกิจ ทั้งแบบเสรีนิยม และ สังคมนิยม