การประเมินคุณภาพหลักสูตรรายวิชา “126-42-17 การฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม”ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ปีการศึกษา 2554 Course Evaluation Course "Training 126-42-17 Experience in the Industry”a Bachelor's Degree Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi of 2011 ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.เทพนารินทร์ ประพันธ์พัฒน์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี บทคัดย่อ วิธีการดำเนินการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต โดยนักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาการฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม โดยมีเวลาฝึกงานไม่น้อยกว่า 270 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อ ได้แก่ มาตรวัดคุณภาพใน 5 มิติ ค่าเฉลี่ย (µ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินคุณภาพหลักสูตรรายวิชา“126-42-17 การฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม”ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ปีการศึกษา 2554 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต โดยนักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาการฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม รหัส 126-42-17 จำนวน 3 หน่วยกิต 3(0-40-0) ที่ต้องใช้ความรู้ และทักษะในการปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการประเภทอุตสาหกรรม โดยมีเวลาฝึกงานไม่น้อยกว่า 270 ชั่วโมง ตามข้อบังคับของหลักสูตร ศูนย์นนทบุรี(ภาคสมทบ)จำนวน 7 ราย ผู้วิจัยได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์สถิติตามมาตรวัดคุณภาพใน 5 มิติ เพื่อประเมินคุณภาพหลักสูตรรายวิชา ปีการศึกษา 2554 ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ใช้การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย (µ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า มิติที่ 1 : ความเข้มข้นของโครงการ 51.17 คะแนน มิติที่ 2 การยึดมั่นในสิ่งที่ต้องการจะทำในการพัฒนาหลักสูตรการฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม 77.04 คะแนน มิติที่ 3 ความสอดคล้องของโครงการพัฒนาหลักสูตรการฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม คะแนนรวมของมิติที่ 3 : ความสอดคล้องของโครงการฯ 34.16 คะแนน มิติที่ 4 ความเกี่ยวข้องของสถานประกอบการอุตสาหกรรม 21.11 และมิติที่ 5 ประสิทธิผลของโครงการพัฒนาหลักสูตรการฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม 21.58 คะแนน สรุปในภาพรวมระดับคุณภาพของหลักสูตร คือ 205.06 คะแนน และมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมากทุกมิติ สรุปผล/อภิปรายผล มาตรวัดคุณภาพใน 5 มิติ เพื่อประเมินคุณภาพหลักสูตรรายวิชา“126-42-17 การฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม”ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ปีการศึกษา 2554 มิติที่ 1 ความเข้มข้นของโครงการพัฒนาหลักสูตรการฝึกประสบการณ์ฯคะแนนรวมของมิติที่ 1 : ความเข้มข้นของโครงการ 51.17 คะแนน ระดับคุณภาพของข้อเสนอโครงการในมิติที่ 1 คือ ระดับดีมาก มิติที่ 2 การยึดมั่นในสิ่งที่ต้องการจะทำในการพัฒนาหลักสูตรการฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม คะแนนรวมของมิติที่ 2 : การยึดมั่นในสิ่งที่ต้องการจะทำฯ 77.04 คะแนน ระดับคุณภาพของข้อเสนอโครงการในมิติที่ 2 คือ ระดับดีมาก มิติที่ 3 ความสอดคล้องของโครงการพัฒนาหลักสูตรการฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม คะแนนรวมของมิติที่ 3 : ความสอดคล้องของโครงการฯ 34.16 คะแนน ระดับคุณภาพของข้อเสนอโครงการในมิติที่ 3 คือ ระดับดีมาก มิติที่ 4 ความเกี่ยวข้องของสถานประกอบการอุตสาหกรรม คะแนนรวมของมิติที่ 4 : ความเกี่ยวข้องของสถานประกอบการฯ 21.11 คะแนน ระดับคุณภาพของข้อเสนอโครงการในมิติที่ 2 คือ ระดับดีมาก และมิติที่ 5 ประสิทธิผลของโครงการพัฒนาหลักสูตรการฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรมคะแนนรวมของมิติที่ 5 : ประสิทธิภาพของโครงการฯ 21.58 คะแนน ระดับคุณภาพของข้อเสนอโครงการในมิติที่ 2 คือ ระดับดีมาก บทนำ เพื่อพัฒนาบัณฑิตของสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ให้มีคุณภาพ ตอบรับกับความต้องการของตลาดภาคอุตสาหกรรม ที่สอดรับกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ที่มีแนวคิดว่า “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” และยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” จึงมุ่งเน้นที่จะพัฒนาทุนทางสังคมเพื่อเป็นแรงผลักดันทุนทางเศรษฐกิจ สำหรับพัฒนาประเทศชาติให้เข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป จึงได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรการฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม ของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการอุตสาหกรรมให้ได้มากที่สุด เอกสารอ้างอิง ประภาพรรณ อุ่นอบ. มาตรวัดคุณภาพข้อเสนอโครงการเชิงรุก(ฉบับร่าง). นครปฐม : คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, 2553. Best, John. Research in Education. 4 ed. Englewood Cliffs. New Jersey : Practice Hall Inc, 1983. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อประเมินคุณภาพหลักสูตรรายวิชา“126-42-17 การฝึกประสบการณ์งานอุตสาหกรรม”ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ปีการศึกษา 2554