FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ
Performance Agreement บริหารจัดการ HR,Finance พัสดุโปร่งใส เป้าหมาย: ประสิทธิภาพในการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ ๑๐) โครงสร้างการทำงาน ด้านบริหารจัดการ ด้านข้อมูล ติดตามและประมวลผล คกก.พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการการเงินการคลังหน่วยบริการ/จังหวัด/เขตสุขภาพ/สธ. ๑.ทำแผนประมาณการรายได้ ควบคุมค่าใช้จ่าย (PLANFIN) ๒.พัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ (Unit Cost) ๓.ตัวชี้วัดทางการเงินการคลังระดับเขต/จังหวัด กระบวนการสร้างประสิทธิภาพทางการเงินด้วย FAI (Financial administration Index) ๔. จัดระบบตรวจสอบ Internal audit ในรพช.และ External audit ในรพศ./รพท.นำร่อง พัฒนา standard dataset การเงิน/การคลัง 1.แผนประมาณการรายได้ ค่าใช้จ่าย 2.แผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ วัสดุการแพทย์ วัสดุ วิทยาศาสตร์ 3.แผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ 4.แผนบริหารจัดการลูกหนี้ 5.แผนการลงทุน 6.แผนสนับสนุน รพ.สต. Quick Win 3 เดือน 6เดือน 9เดือน 12 เดือน ๑.แผน planfin ครบทุกหน่วยบริการ ๑๐๐% ๒.หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI ไม่น้อยกว่า ๖๐% ๓.สถานบริการเกินเกณฑ์เฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน ๒๖% ๑.แผน planfin และผลการดำเนินงานมีความต่างไม่เกินร้อยละ ๒๐ ๒.หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI ไม่น้อยกว่า ๗๐% ๓.สถานบริการเกินเกณฑ์เฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน ๒๓% ๔. หน่วยบริการระดับ ๗ ไม่เกิน ๑๕% ๑.แผน planfin และผลการดำเนินงานมีความต่างไม่เกินร้อยละ ๑๕ ๒.หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI ไม่น้อยกว่า ๘๐% ๓.สถานบริการเกินเกณฑ์เฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน ๒๐% ๔. หน่วยบริการระดับ ๗ ไม่เกิน ๑๓% ๑.แผน planfin และผลการดำเนินงานมีความต่างไม่เกินร้อยละ ๑๐ ๒.หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI ไม่น้อยกว่า ๙๐% ๓.สถานบริการเกินเกณฑ์เฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน ๑๗% ๔. หน่วยบริการระดับ ๗ ไม่เกิน ๑๐%
ตารางสรุปข้อมูลการประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง Financial Administration Index (FAI) ในภาพรวม โดยแบ่งตามเขตสุขภาพ 12 เขต ดังนี้
จำนวนจังหวัดภายในเขต (จังหวัด) จำนวนโรงพยาบาลภายในเขต (แห่ง) เขตสุขภาพที่ จำนวนจังหวัดภายในเขต (จังหวัด) จำนวนโรงพยาบาลภายในเขต (แห่ง) คะแนนเฉลี่ยระดับเขต 1 8 100 89.18 2 5 47 90.80 3 53 92.13 4 71 90.02 66 89.02 6 72 88.46 7 67 92.79 87 96.48 9 99.40 10 95.78 11 76 84.06 12 78 96.73 คะแนนเฉลี่ย จากจำนวนเขตสุขภาพ 12 เขต 92.07
หมายเหตุ คำนวณคะแนนเฉลี่ย โดยคิดจากจำนวนโรงพยาบาลที่ส่ง 873 แห่ง เขต สุขภาพ คะแนนเฉลี่ยระดับความสำเร็จของ FAI ทั้ง ๔ กิจกรรม ๑.การควบคุมภายใน ๒.การพัฒนาคุณภาพบัญชี ๓.การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การคลัง ๔.การพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ ๑ 90.40 92.00 89.60 83.40 ๒ 92.77 93.19 94.47 ๓ 88.68 90.94 92.83 95.09 ๔ 83.38 98.03 92.96 87.61 ๕ 86.67 96.36 95.45 78.48 ๖ 84.72 81.94 92.22 83.33 ๗ 79.70 87.16 97.61 99.40 ๘ 95.86 93.56 97.93 99.77 ๙ 100.00 97.70 ๑๐ 95.49 96.62 99.44 ๑๑ 75.79 82.11 87.89 71.58 ๑๒ 92.56 98.21 95.90 99.49 รวม 89.32 92.62 94.57 90.49 หมายเหตุ คำนวณคะแนนเฉลี่ย โดยคิดจากจำนวนโรงพยาบาลที่ส่ง 873 แห่ง
เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหาร ฯ FAI เกณฑ์ประเมินการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ (Financial Administration Index: FAI ) หมายถึง เกณฑ์ที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขใช้เป็นเครื่องมือประเมินคุณภาพการบริหารจัดการการเงินการคลังโรงพยาบาลในสังกัด ๔ กิจกรรมหลัก ได้แก่ ๑. การพัฒนาระบบการควบคุมภายใน (Internal Control :IC) น้ำหนักร้อยละ ๒๐ ๒. การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC) น้ำหนักร้อยละ ๒๐ ๓. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง (Financial Management: FM) น้ำหนักร้อยละ ๓๐ ๔. การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ (Unit Cost :UC)น้ำหนักร้อยละ ๓๐
มิติด้านการเงิน มิติด้านพัสดุ มิติด้านระบบการควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง. มิติด้านการเงิน มิติด้านพัสดุ มิติด้านบัญชีและงบการเงิน มิติด้านการจัดเก็บรายได้ ค่ารักษาพยาบาลสิทธิต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการ
วิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน และ ขั้นตอนการประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ องค์ประกอบ การประเมิน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 การควบคุมภายใน(Internal Control : IC ) (5 มิติ) แต่งตั้งคณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบขององค์กรเสนอหัวหน้าส่วนราชการ หน่วยบริการประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ ๑. มิติด้านการจัดเก็บ รายได้ค่ารักษาพยาบาล สิทธิต่าง ๆ ๒. มิติด้านการเงิน ๓. มิติด้านพัสดุ ๔. มิติด้านบัญชีและ งบการเงิน ๕. มิติด้านการประเมิน ระบบการควบคุม ภายในตามระเบียบ คณะกรรมการตรวจ เงินแผ่นดิน พ.ศ. 2544 วิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน และ จัดทำแผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ จากผลการประเมินระบบการควบคุมภายในที่พบจุดอ่อน จัดส่งผลให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560) ดังนี้ 1. แบบประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ 2. ผลการวิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน 3. แผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ รายงานเปรียบเทียบแผน-ผลการพัฒนาองค์กร 5 มิติ จัดส่งให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2560)
เพื่อให้หน่วยบริการมีระบบการควบคุมภายใน 2558 2559 2560 หน่วยบริการต้องประเมินระบบการควบคุมภายในตามนโยบายสำคัญ 9 กระบวนงาน หน่วยบริการต้องประเมินระบบการควบคุมภายในครอบคลุม 3 ภารกิจ บริหาร บริการ วิชาการ และตามนโยบายสำคัญ 9 กระบวนงาน หน่วยบริการผ่านการประเมินระบบการควบคุมภายในแต่ละมิติร้อยละ 70 1. กระบวนงานจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่ายตรงกรมบัญชีกลางสิทธิข้าราชการ 1. มิติด้านการจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิต่าง ๆ 2. กระบวนงานจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ UC 2. มิติด้านการเงิน 3. กระบวนงานการควบคุม เก็บรักษา (บริหารคลังยา เวชภัณฑ์ และวัสดุ) 3. มิติด้านพัสดุ 4. กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุประจำปี (วัสดุสำนักงานเงินบำรุง) 4. มิติด้านบัญชีและงบการเงิน 5. กระบวนงานการจัดทำแผนประมาณการรายได้และควบคุมค่าใช้จ่าย 5. มิติด้านการประเมินระบบการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๔ 6. กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ 7. กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดหางบลงทุน 7.กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ 8. กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ 8. กระบวนการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุการแพทย์ 9. กระบวนการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุ ทันตกรรม 9.กระบวนงานจัดทำแผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ www.themegallery.com
เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหาร ฯ FAI องค์ประกอบ การประเมิน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การควบคุมภายใน(Internal Control : IC ) (๙ กระบวนงาน) แต่งตั้งคณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบขององค์กรเสนอหัวหน้าส่วนราชการ หน่วยบริการประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ ๑. มิติด้านการจัดเก็บ รายได้ค่ารักษาพยาบาล สิทธิต่าง ๆ ๒. มิติด้านการเงิน ๓. มิติด้านพัสดุ ๔. มิติด้านบัญชีและ งบการเงิน ๕. มิติด้านการประเมิน ระบบการควบคุม ภายในตามระเบียบ คณะกรรมการตรวจ เงินแผ่นดิน พ.ศ. 2544 วิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน และ จัดทำแผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ จากผลการประเมินระบบการควบคุมภายในที่พบจุดอ่อน จัดส่งผลให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560) ดังนี้ 1. แบบประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ 2. ผลการวิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน 3. แผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC) มีคณะทำงานพัฒนาระบบบัญชีในหน่วยบริการและมีการประชุมอย่างน้อยทุกไตรมาส เพื่อ กำหนดประเด็นปัญหาที่ส่งผลต่อคุณภาพบัญชี คณะทำงาน มีการรายงานถึงความก้าวหน้าของการแก้ไขปัญหาเสนอต่อผู้บริหาร ( ทุกไตรมาส) มีการเสนอรายงานการเงิน การวิเคราะห์สถานะการเงินของ รพ. เสนอต่อผู้บริหาร (ผอ. รพ.) ทุกไตรมาส มีรายงานการเงิน ของลูกข่าย (รพ.สต.) ส่งส่วนกลางได้ครบทุกแห่ง ผลงานหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงความสำเร็จ เป็นที่ยอมรับ (คุณภาพบัญชีทางอิเล็คทรอนิกส์ หน่วยบริการ แม่ข่าย ผ่านเกณฑ์๑๐๐ %)
เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหาร ฯ FAI องค์ประกอบ การประเมิน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการคลัง (Financial Management : FM) มี คกก.บริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการและมีการประชุมเพื่อกำหนดประเด็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเงินการคลัง มี คกก. จัดทำแผนทางการเงิน(PLANFIN) ของหน่วยบริการ ที่มีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย/กลุ่มงาน มีการติดตามการบริหารแผนทางการเงิน(PLANFIN) ให้เป็นไปตามแผนทุกไตรมาส ใช้เครื่องมือทางการเงิน เพื่อเฝ้าระวังและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร (ดัชนี ๗ ระดับ, ค่ากลางกลุ่มระดับ รพ.,LOIฯลฯ) มีผลงานหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงความสำเร็จ -ไม่มีความเสี่ยงทางการเงินระดับ ๗ ตามเกณฑ์การประเมินวิกฤติของกระทรวง การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ (Unit Cost:UC) มีแผนการพัฒนาการจัดทำต้นทุน Unit Cost ไว้ในแผนการดำเนินงานประจำปีของหน่วยบริการ มีคณะทำงานพัฒนาต้นทุนประจำหน่วยบริการ (จากแผนกหรือฝ่ายที่เกี่ยวข้อง) มีการตรวจสอบคุณภาพความครบถ้วนของข้อมูลบริการทั้ง OP/IP ประจำเดือน มีการนำเสนอต้นทุนบริการ OP/IP ต่อ ผู้บริหาร (ผอ.รพ.) ประจำทุกไตรมาส มีต้นทุนบริการ OP/IP อยู่ในเกณฑ์เดียวกับกลุ่มระดับบริการด้วยวิธีการ Quick Method (ค่า Mean+๑SD)
การประเมินผล ไตรมาส 1/2560 ไตรมาส 2/2560 องค์ประกอบการประเมิน ความสำเร็จของแต่ละขั้นตอน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC) ไตรมาส 2/2560 องค์ประกอบการประเมิน ความสำเร็จของแต่ละขั้นตอน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC)
วิธีการประเมิน ให้ใช้วิธีการประเมินแบบ “ภายในเขต ข้าม จังหวัด” วิธีการประเมิน ให้ใช้วิธีการประเมินแบบ “ภายในเขต ข้าม จังหวัด” บุรีรัมย์ สุรินทร์ นครราชสีมา ชัยภูมิ
วิธีการประเมินและเก็บข้อมูล กลุ่มประกันสุขภาพ พัฒนาโปรแกรมการส่งข้อมูลประเมินประดับความสำเร็จตามตัวชี้วัด FAI สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ประเมินหน่วยบริการ และกรอกข้อมูลทางเว็บไซต์ http://hfo.cfo.in.th (เมนู FAI) เป็นรายไตรมาส (ภายในวันที่ ๓๐ ของสิ้นไตรมาสที่ประเมิน
การเข้าใช้งาน วิธีการส่งข้อมูล จังหวัด Userจังหวัด FAI00011 Password รหัส00011 ตรวจสอบข้อมูล เขตสุขภาพ รหัส service_plan1 Password service1
ขอบคุณ