01460325 สังคมวิทยาอุตสาหกรรม Industrial Sociology ครั้งที่ 1 : ชี้แจงพื้นฐานและปัญหาการพัฒนา 1 : 11 ส.ค. 61
วัน/เวลา/สถานที่ : วันเสาร์ 01460325 สังคมวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Sociology) 3 หน่วยกิต วัน/เวลา/สถานที่ : วันเสาร์ หมู่ 800 เวลา 13.00 - 16.00 น. ห้อง 10306 หมู่ 850 เวลา 16.30 - 19.30 น. ห้อง 10306 นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน - วันอังคาร/วันพุธ/วันศุกร์ เวลา 12.30-13.30 น. - วันพฤหัสบดี เวลา 8.30-10.30 น. - วันอาทิตย์ เวลา 16.00-17.30 น. - วันหรือเวลาที่เหมาะสม โดยนัดหมายศูนย์การเรียน คณะวิทยาการจัดการ : http://www.ms.src.ku.ac.th/schedule : E-mail : toemsak.su@gmail.com : Line ID : ts13ku-3 : Tel. 081 447 9900 ผู้สอน : พรเทพ พัฒนานุรักษ์ เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ และวรสิทธิ์ ปาละวงศ์ ณ อยุธยา
วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) : 1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมาและพัฒนาการของ สังคมอุตสาหกรรม ลักษณะโครงสร้าง องค์ประกอบและประเภท อุตสาหกรรม ระบบอุตสาหกรรมและแรงงานสัมพันธ์ แนวคิดและทฤษฎี เกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมและสังคม 2. เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจถึงการจัดระเบียบทางสังคมอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประชากรและ สิ่งแวดล้อมของสังคมจากการพัฒนาอุตสาหกรรม 3. เพื่อให้นิสิตมีความสามารถเชิงวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบจาก การพัฒนาสังคมและอุตสาหกรรม รวมทั้งแนวทางการแก้ไขปัญหา การพัฒนาอุตสาหกรรม
1 2 คำอธิบายรายวิชา (Course Description) : Characteristic and development of the industrial system, social organization relating to industrial system, labour relations, social change and social problem concerning the industrialization. 2 ลักษณะและประวัติความเป็นมาของระบบอุตสาหกรรม การจัดระเบียบสังคมในส่วนที่เกี่ยวกับระบบอุตสาหกรรม แรงงานสัมพันธ์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและปัญหาสังคมที่เกี่ยวข้องกับระบบอุตสาหกรรม
วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การบรรยาย การอธิบาย การวิเคราะห์ การศึกษาและทบทวน การนำเสนอตัวอย่างและผลงานวิชาการ/วิจัย การวิเคราะห์วิจารณ์ การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม การเรียนและ การสอน การค้นคว้า การรวบรวม วิเคราะห์และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม การทำแบบฝึกหัด การทำงานที่มอบหมายและการทดสอบ การเรียนรู้ ด้วยตนเอง การฝึกปฏิบัติวิเคราะห์กรณีศึกษา และการตีความ การเขียนรายงาน การสรุปและการนำเสนอการศึกษา การฝึก ปฏิบัติการ
เครื่องมือ อุปกรณ์และสื่อการสอน อุปกรณ์และสื่อการสอน : เครื่องมือ อุปกรณ์และสื่อการสอน หนังสือ ตำรา แบบฝึกหัด สื่อการสอน /เครื่องมือ /อุปกรณ์ นำเสนอ เครื่อง คอมพิวเตอร์/ เครื่องพิมพ์ เอกสาร ประการสอน
หมายเหตุ : การเปลี่ยนแปลงการวัดผลสัมฤทธิ์จะตกลงร่วมกัน การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 1. การมีส่วนร่วม สนใจและแลกเปลี่ยนในการเรียนสม่ำเสมอ ร้อยละ 10 2. การทดสอบ แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายในชั้นเรียน ร้อยละ 35 3. การสอบกลางภาค ร้อยละ 25 4. การสอบปลายภาค ร้อยละ 30 * หมายเหตุ : การเปลี่ยนแปลงการวัดผลสัมฤทธิ์จะตกลงร่วมกัน ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน * : ขาดทดสอบ แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายให้ทำ จะต้องส่งงานภายใน 5 วัน นับตั้งแต่วันสั่งงาน
การประเมินผลการเรียน : สูงกว่า 79.9 คะแนน ระดับคะแนน A หรือ 4.0 75.0 - 79.9 คะแนน ระดับคะแนน B+ หรือ 3.5 70.0 - 74.9 คะแนน ระดับคะแนน B หรือ 3.0 65.0 - 69.9 คะแนน ระดับคะแนน C+ หรือ 2.5 60.0 - 64.9 คะแนน ระดับคะแนน C หรือ 2.0 55.0 - 59.9 คะแนน ระดับคะแนน D+ หรือ 1.5 50.0 - 54.9 คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า - 50.0 คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0
* คะแนนเข้าห้องเรียนคำนวณตามจริง* ข้อกำหนดในการเรียน : 1 นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง (อย่างน้อย 12 ครั้งๆ ละ 3 ช.ม.) นิสิตเข้าเรียนสาย 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง นิสิตลากิจ 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง นิสิตลาป่วยจะต้องมีใบรับรองแพทย์ทุกกรณี * คะแนนเข้าห้องเรียนคำนวณตามจริง* 2 นิสิตที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน 3 นิสิตต้องไม่ส่งเสียงรบกวนขณะสอนอันมีผลทำให้การเรียนการสอนขาดคุณภาพ 4 นิสิตต้องฝึกปฏิบัติการและทำงานที่มอบหมายในชั้นเรียนเป็นประจำ 5 นิสิตต้องร่วมกลุ่มจัดทำรายงานการศึกษาประจำวิชาอย่างสม่ำเสมอ
กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา ภาวะการเปลี่ยนแปลงการพัฒนา 1) ภายหลังสงครามโลกครั้ง 2 เกิดการแบ่งกลุ่มประเทศขึ้นอย่างชัดเจนตามความเชื่อลัทธิการเมือง-เศรษฐกิจ 2) เกิดประเทศ/รัฐใหม่จำนวนมาก โดยประเทศภายใต้อาณานิคมของ ชาติมหาอำนาจตะวันตก ได้รับอิสระกลายเป็นประเทศเกิดใหม่ (Emergent States) 3) ประเทศ/รัฐชั้นนำต้องสร้างพันธมิตรด้วยการแสวงหาประเทศที่มี ความด้อย/อ่อนแอกว่าเป็นฐานในการต่อสู้กับฝ่ายตรงกันข้าม 10 10
กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา ภาวะการเปลี่ยนแปลงการพัฒนา สหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียตรัสเซียกลายเป็นศูนย์รวมอำนาจที่พยายามขยายแพร่อิทธิพลตนเอง ด้วยการกำหนดรูปแบบทางเศรษฐกิจและการเมืองให้แก่ประชาคมโลกตามความเชื่อของแต่ละประเทศ ประธานาธิบดี Harry Truman ของสหรัฐอเมริกาแถลงในสภาคองเกรสเมื่อต้นปี พ.ศ. 2492 ว่า ชาติมหาอำนาจจะต้องให้ความช่วยเหลือชาติเกิดใหม่ที่ “ล้าหลัง” และ “ไม่ศิวิไลซ์” ด้วยการ“ช่วยเหลือ” ภายใต้เหตุผลของ “การพัฒนา” 11 11
กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา ภาวะการเปลี่ยนแปลงการพัฒนา บางประเทศยอมรับนำแนวคิดเป็นกรอบการพัฒนาแตกต่างกันทั้งสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตรัสเซีย หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลาย สหรัฐเอมริกามีบทบาทขึ้นและกลายเป็นประเทศชี้นำ ครอบงำและมีอิทธิพลเหนือประเทศอื่น กรอบการพัฒนาของโลกมีการเปลี่ยนแปลง 3 ครั้ง - เน้นอัตราเติบโตทางเศรษฐกิจ - เน้นความสอดคล้องของโครงสร้างความสัมพันธ์และพึ่งพา - เน้นประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและวิธีวางแผนแบบสังคมนิยม 12 12
กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา กระบวนทรรศน์ (Paradigm) (1) ทรรศนะพื้นฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง/หลายอย่างที่จะกำหนดแบบแผน การคิดและการปฏิบัติในประชาคมหนึ่งๆ (2) ความคิดรวบยอดของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง/หลายอย่าง โดยจะกำหนดแบบแผนความคิดหรือพฤติกรรมการกระทำ (3) เมื่อทรรศนะ/ความคิดพื้นฐานเปลี่ยนแปลงจะทำให้แบบแผนการคิด และการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลงไปด้วย (Paradigm Shift) 13 13
กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) “การวิวาทะและความขัดแย้งช่วงชิงอำนาจ” การให้ความหมาย “การพัฒนา” : - ทุนนิยม/เสรีนิยม - สังคมนิยม/คอมมิวนิสต์ ตั้งแต่เริ่มก่อกำเนิดของทฤษฎีแรกแห่งการพัฒนา (The First Theory of Development) 14 14
กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - สมัยประธานาธิบดี Harry Trueman ของจักรวรรดินิยมอเมริกาภายหลังจากการยุติลงของสงครามโลกครั้งที่ 2 - การต่อสู้ระหว่างลัทธิการเมืองและนโยบาย 4 เป้าหมาย (Point Four Programme) เพื่อถ่วงดุลอำนาจ ช่วงชิงและครอบงำประเทศอ่อนแอ ให้เป็นฐานกำลังในการต่อสู้กับปฏิปักษ์ - สงครามระหว่างลัทธิได้ดำเนินติดต่อกันมาจนกระทั่งเกิดการล่มสลาย ของลัทธิสังคมนิยมโซเวียต รวมทั้งการเปลี่ยนท่าที แนวทางและนโยบาย ทางการเมืองของพันธมิตรหลายๆ ประเทศ 15 15
กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - การล่มสลายของลัทธิเศรษฐกิจการเมืองของประเทศที่เป็นปฏิปักษ์ ทำให้เกิดการแพร่กระจายและขยายตัวของแนวคิดเศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก (Main Stream Economy) - ประเทศบริวารและกึ่งบริวารที่เปรียบเสมือนกับประเทศอาณานิคมยุค ใหม่ (New Colony) ของจักรวรรดินิยมอเมริกา นำเอาแนวคิดทาง เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก และแนวคิดปฏิฐานนิยมไปกำหนดแนวทาง ในการพัฒนาประเทศ 16 16
กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - ผลการนำแนวคิดมาใช้พัฒนาประเทศอย่างขัดแย้งกับวัฒนธรรมและ วิถีการดำรงชีวิต (Mode of Living) - แนวคิดการพัฒนาประเทศที่ใช้ก่อให้เกิดการแสวงหา : : ผลประโยชน์ส่วนบุคคลอย่างไร้ขอบเขต : การทำลายล้างระบบนิเวศ ระบบศีลธรรม วัฒนธรรม สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 17 17
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) - เริ่มประมาณช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงครามเกิดภัยพิบัติ/หายนะ โดยเฉพาะพื้นที่ประเทศยุโรป และแนวคิดการพัฒนาแพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนาประมาณ 1950-60 นักทฤษฎีเสนอกรอบ “การพัฒนาเชิงเนื้อหาทางเทคนิค” (Technical Matters) ที่มีการใช้วิเคราะห์ปัญหาสังคมด้อยพัฒนาต่างๆ ด้วยการประยุกต์ใช้:- : Neo-Classic Economic : American Social Science
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) -: Functional Approach :- เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่า “เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ” หรือ“Development Economics” เป็นศาสตร์/สาขาที่มีความก้าวหน้าสูง ลักษณะเป็นศาสตร์เชิง “ปฏิฐาน” (Positive Science) ที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดทิศทางการ พัฒนาประเทศต่างๆ โดยพิจารณาแนวการปฏิบัติงานเน้นดำเนินงานทาง เศรษฐกิจลักษณะ -: Functional Approach :- เศรษฐกิจนำหน้าสังคม/การเมือง/วัฒนธรรม
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory เริ่มปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 : โครงการฟื้นฟูประเทศยุโรป ตะวันออก (European Recovery Programme, ERP) = E/F/I/W G เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่าประสบ ผลสำเร็จ แพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนา ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” นักทฤษฏี/นักวิชาการ/นักปฏิบัติในกลุ่ม“ปฏิฐานนิยม/ สุขนิยม” (Positivists) เสนอ “การพัฒนาจะเกิดขึ้นต้องอาศัย ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” : อุปสรรค/ภาวะด้อยพัฒนาจะเกิดจากการขาดเงื่อนไข การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 21
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ประเด็นการพัฒนา : : ขจัดเงื่อนไขอุปสรรค : เศรษฐกิจเจริญ : สังคมเจริญ กรอบแนวความคิดประยุกต์ใช้กว้างขวางทั้งประเทศ พัฒนาและประเทศด้อยพัฒนา ลักษณะแนวความคิด/ทฤษฎีกลไก (Technocratic Theory) : ใช้เป็นวิธีเชิงการปฏิบัติงาน
กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) พิจารณามองการพัฒนาเชิงโต้ตอบ/การต่อต้านกรอบ แนวคิด 1 st Paradigm เริ่มขึ้นระยะเวลาใกล้เคียงกันในพื้นที่ยุโรปตะวันตก ลาตินและอเมริกา ประมาณต้นทศวรรษที่ 1960 (2503) โดยเสนอแยกการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาออกจาก : - เศรษฐศาสตร์พัฒนา - สังคมวิทยาอเมริกัน แนวคิดหลายกระแสมาก 23
กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) นักทฤษฎี/นักวิชาการกลุ่มนี้เรียกว่า แนวคิดก้าวหน้า (The Radicals) โจมตีวิพากษ์ทฤษฎีภาวะทันสมัยว่า เป็น การมองปัญหาคับแคบ/ไม่ครอบคลุมถึงแก่นแท้ปัญหา มากพอสำหรับการพัฒนาประเทศต่างๆ ปัญหาประเทศด้อยพัฒนาเกิดจากครอบงำ การเอารัด เอาเปรียบ และขูดรีดจากประเทศจักรวรรดินิยม Structuralism Approach 24
กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) หลักการที่ใช้วิเคราะห์ปัญหาและทางออกของสังคมด้อยพัฒนาที่ขยายตัวและได้รับความสนใจอย่างรวดเร็ว ได้แก่ - ทฤษฎีพึ่งพา (Dependency Theory) - ทฤษฎีภาวะด้อยพัฒนา (Underdevelopment Theory) 25
กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) เริ่มประมาณช่วงต้นศตวรรษที่ 1970 กลุ่มนักทฤษฎี มาร์กซิสต์ (The Marxists) ที่เริ่มให้สนใจปัญหาการ พัฒนาโลกที่ 3 การขยายตัวระบบทุนนิยมโลกมีผลต่อภาวะความสับสนและภาวะ ด้อยพัฒนาของประเทศด้อยพัฒนาทั่วไป : แนวทางพิจารณาปัญหาสังคมด้อยพัฒนา - วิถีการผลิต (Mode of Production) - การดูดซับมูลค่าส่วนเกินทางเศรษฐกิจ (Economic Surplus) - การขัดแย้งทางชนชั้น (Social Class Conflict)
กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) การพัฒนา : ทุน (Capital) แรงงาน (Labour) ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้น (Social Class Relationship)
กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา ทฤษฎีการพัฒนามิใช่สูตรสำเร็จ (Ready Formula) ที่จะนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวางในทุกระบบสังคม แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาไม่ควรจะมีลักษณะเป็น Mechanico- formal Formulation เพราะ : 1) กระบวนการพัฒนาเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง 2) ประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและ วัฒนธรรมของสังคมที่มีเงื่อนไขและรูปแบบทางประวัติศาสตร์ แตกต่างกัน 28 28
ความหมาย “คุณภาพชีวิต (Quality of Life)” มิติของคุณภาพชีวิต คุณภาพทางจิตใจ คุณภาพ ทาง จิตวิญญาณ คุณภาพทางสังคม คุณภาพทางกายภาพ
คุณภาพชีวิตทางกายภาพ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนแง่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ประกอบด้วย - ปัจจัย 4 : อาหาร ที่อยู่ เสื้อผ้าและยารักษาโรค - สิ่งก่อสร้างและการบริการขั้นพื้นฐาน : เส้นทางคมนาคม ระบบ ไฟฟ้า น้ำประปา สถานศึกษาและสาธารณสุข สวนสาธารณะ ศูนย์กลางค้า สถานบริการและอื่นๆ - เครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์ : สิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ ยานพาหนะ โทรทัศน์ โทรศัพท์ เครื่องใช้และอื่นๆ
: ระดับความเป็นอยู่ประชาชนไม่ใช่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้าง คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางจิตใจ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนไม่ใช่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้าง ความเชื่อมั่นใจ การพึ่งตนเอง การมีศักดิ์ศรี การเข้ามีส่วนร่วม ภาวะ จิตใจสงบสุข ผ่อนคลาย ไม่เครียด คล่องแคล่ว มีความเมตตา กรุณา มีสติ มีสมาธิ เป็นต้น คุณภาพชีวิตทางสังคม : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีการอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชน สังคมและโลกอย่างสงบและสันติภาพ รวมถึงการได้รับบริการ ทางสังคม หรือบริการจากรัฐที่ดี เป็นต้น
คุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีความสุขจากการมีจิตใจสูง รู้จัก เสียสละเข้าถึงความจริงทั้งหมด - การลด ละ เลิกความเห็นแก่ตัว - มุ่งถึงความดีสูงสุด/ภาวะคุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ เป็นมิติทางคุณค่าที่สูงสุดเหนือไปจากโลกหรือทางวัตถุ การมี ศรัทธาและการเข้าถึงคุณค่าที่สูงส่ง ทำให้เกิดความสุขอันลึกล้ำ
มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา ประเด็นพิจารณา มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา เทคโนโลยี Technology สังคม Social มนุษย์ Human เศรษฐกิจ Economic สิ่งแวดล้อม Environment
กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน “การพัฒนาที่มีดุลยภาพระหว่างมิติ : ทางเศรษฐกิจ : ทางสังคม : ทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างเกื้อกูลกันเพื่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชนตลอดไป”
THAILAND
ทุน ทุนธรรมชาติ (natural capital) ทุนทางสังคม ทุนมนุษย์ (Social capital) ทุนมนุษย์ (Human capital) ทุนทางเศรษฐกิจ (Economic capital)
การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1 การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1. การรวมตัวของเศรษฐกิจโลก 2. เทคโนโลยี 3. แนวโน้มประชากรและสังคม 4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. พฤติกรรมการบริโภค
การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การรวมตัวเศรษฐกิจระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี และบทบาทเศรษฐกิจ ของเอเชียที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะจีน และอินเดีย ผลของความไม่สมดุลของเศรษฐกิจสหรัฐ ต่อค่าเงิน การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การเคลื่อนย้ายเงินทุนในโลกมีมากขึ้น Hedge Funds เก็งกำไรในเงินและราคาสินค้า จะมีกฎ ระเบียบ การกำกับตรวจสอบ และธรรมาภิบาลของสถาบันการเงิน และธุรกิจเอกชนที่เข้มงวดขึ้น เช่น Basel II, COSO2 เป็นต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ นาโนเทคโนโลยี
ประชากร ประชากรและสังคม สุขภาพ ความปลอดภัยในสังคม วัฒนธรรมและค่านิยม
มาตรการการค้าไม่ใช่ภาษี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อผูกพันระดับโลก ปัจจัยการผลิต
การขยายตัวของความเป็นเมือง โครงสร้างอายุ รูปแบบการบริโภค รายได้ การขยายตัวของความเป็นเมือง
หลักการพื้นฐานการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน Economic stability and sustainability เพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ Value creation from knowledge application Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก และภูมิภาค Global and regional positioning นโยบายสังคมเชิงรุก Proactive social policy to create positive externality
Economic Restructuring Agriculture Industry Service Economic Restructuring Value Chain by Cluster Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution Infrastructure and Logistics S&T, R&D, Innovation Macroeconomic Policy Human Resource Development Laws and Regulations
โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคอุตสาหกรรม และการค้าระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์การขยายฐานภาคบริการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมเชิงรุก ยุทธศาสตร์ความมั่นคงและการต่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับปรุงประสิทธิภาพภาครัฐ
กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ 10-15 ปีข้างหน้า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพ และยั่งยืน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีคุณภาพ เสมอภาคและสมานฉันท์ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ ปรับตัวได้มั่นคงและกระจายการพัฒนาที่เป็นธรรม จัดการและคุ้มครองฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนเพื่อผลประโยชน์ต่อคนรุ่นอนาคต พัฒนาศักยภาพคนและการปรับตัวบนสังคมฐานความรู้ พัฒนาเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ และมีภูมิคุ้มกันที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาคุณภาพชีวิต และความมั่นคงในการดำรงชีวิต สงวนรักษาทรัพยากร ธรรมชาติทั้งการใช้ การป้องกัน และการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความเสมอภาคและการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาในการบริหารจัดการสังคมที่ดี ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล พึ่งตนเองและเข่งขันได้ด้วยฐานความรู้ จัดการและธำรงไว้ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี กระจายผลประโยชน์ของการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม สร้างภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งของทุนทางสังคมให้เกิดสันติสุข สมานฉันท์ และเอื้ออาทรต่อกัน กระจายการใช้ทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและการมีส่วนร่วมของประชาชน