นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2 ชี้แจงการตรวจราชการคณะ 2 ปีงบประมาณ 2560 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ SERVICES PLAN นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
Service Excellent Service Excellent
ต้องจัดทีมให้ได้ Staff , System , Structure คลินิกหมอครอบครัว Primary Care Cluster เป้าหมาย PA : รพศ./รพท. 3 ทีม (1 Cluster) รพช. 1 ทีมต่อจังหวัด == 3 เดือน จัดทำแผน == 6 เดือน 50 % == 9 เดือน 75 % == 12 เดือน 90 % == จัดให้มีทีมหมอครอบครัวที่มี แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว เป็นหัวหน้าทีม ดูแลร่วมกันรับผิดชอบสุขภาพประชากรเป็นการประจำ และมีบทบาทให้บริการดูแลสุขภาพ ทั้ง รักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสุขภาพ อย่างต่อเนื่อง ในรูปแบบ ดูแลสุขภาพคน ไม่ใช่โรค ตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว ต้องจัดทีมให้ได้ Staff , System , Structure อย่างน้อยตาม Major Criteria และ Minor Criteria ภายใน 2 ปี
Major criteria Minor criteria Staff ประชากร 8000-12,000 ต่อ ทีม - แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว หรือ ผ่านการอบรมระยะสั้นราชวิทยาลัย 1 คน : ทีม - พยาบาลวิชาชีพ/พยาบาลเวชปฏิบัติ 1 : 2,500 (4 คน) อย่างน้อย 50 % - นักวิชาการ/เจ้าพนักงานสาธารณสุข - ต้องมีแผนการสรรหาที่ชัดเจนให้ได้ ครบถ้วนใน 2 ปี - ทันตแพทย์ 1 : 30,000 - เภสัชกร 1 : 30,000 - ทันตาภิบาล 1 : 10,000 - เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 1 : 10,000 - แพทย์แผนไทย 1 : 10,000 - กายภาพบำบัด 1 : 30,000 - สหวิชาชีพอื่น ต้องมีแผนการสรรหา ให้ได้ครบถ้วนภายใน 2 ปี System จัดระบบให้สามารถ บริการทุกคน ทุกอย่าง ทุกที่ ทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี
Major criteria Minor criteria System (Cont.) ระบบบริการ Service Package รายกลุ่มวัย / Line group / Continuity care เช่น การเยี่ยมบ้าน / LTC etc ระบบส่งต่อ Green Channel / Refer Back ระบบบัญชี Virtual Account ระบบข้อมูล โปรแกรมระบบบริการเชื่อมกับแม่ข่าย ระบบรายงานประจำเดือน/ไตรมาส ระบบบริหารจัดการ มีผู้จัดการทีม / ผู้จัดการ Cluster ผู้จัดการระดับอำเภอ / ระดับจังหวัด การจัดระบบบริการร่วมกับชุมชน Ambulance / Lab Investigation Planfin แผนเงินบำรุง การทำงานผ่าน Tablet , Smart phone Structure อาคาร ที่เข้าถึงบริการได้ง่ายและครอบคลุม (ใช้ปรับปรุงจากสถานที่เดิมเป็นหลัก) ครุภัณฑ์ ตามความจำเป็น เช่น EKG / Ultrasound / Dental Unit / AED etc
ชี้แจง 29 พฤศจิกายน 2559
เป้าหมายบริการ/ตัวชี้วัด 1. การจัดบริการสุขภาพ มีระบบ fast track STEMI, cardiac network และ zoning 2. ระบบสารสนเทศ มีระบบ data information เพื่อลงข้อมูลและรายงานเป็นระบบเดียวกันทั่วปะเทศ 3. การจัดกำลังคนด้านสุขภาพให้เพียงพอและเหมาะสมกับภาระงานทั้งphysician, cardiologists, Interventionist, cardiothoracic surgeon, nurses, nurse manager, pharmacists, Technician และอื่นๆ 4. การเงินการคลังสาธารณสุข จัดหางบประมาณให้เพียงพอ 5. ยาและวัสดุครุภัณฑ์ทางการแพทย์ และ เทคโนโลยี เช่น ยา Tenectaplase มาใช้แทนยา streptokinase , echo ,cathlab , OR 6. การอภิบาลระบบสุขภาพ ทั้งบุคลากรทางสาธารณสุข ค่าตอบแทน ค่าเสียงภัย ความดีความชอบ การเข้าถึงบริการของประชาชน ระบบ EMS การใช้ App 2560 มาตรการ 6 Building box เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถและขยายการบริการการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจในโรงพยาบาลระดับต่างๆ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคหัวใจให้รวดเร็ว ได้มาตรฐานและเป็นธรรม เป้าหมาย อัตราตายผู้ป่วย ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เกิน 28 ต่อ 100,000 โรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปมีการให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic Drug) ในผู้ป่วย STEMI ได้ร้อยละ 100 ผู้ป่วย STEMI ได้รับการขยายหลอดเลือดและหรือยาละลายลิ่มเลือดมากว่าร้อยละ 80 อัตราการเสียชีวิต STEMI ในโรงพยาบาลไม่เกินร้อยละ 10 เป้าหมายบริการ/ตัวชี้วัด SP2560-November-KK
Stroke
มาตรการสำคัญ 1. จัดตั้งหออภิบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Unit) ในโรงพยาบาล ระดับ A ร้อยละ100 และในโรงพยาบาลระดับ S ร้อยละ 60 2. กระตุ้นให้สถานบริการทุกระดับมีการพัฒนาตาม Stroke Service Plan กล่าวคือโรงพยาบาลระดับ A, S เน้นการรักษาในระยะเฉียบพลัน ระดับรองลงมาเน้นเรื่องการรับส่งต่อ และการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักรู้ถึงอาการของโรคหลอดเลือดสมองและรีบมาโรงพยาบาลโดยด่วนหากสงสัยว่าป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมอง 3. โรงพยาบาลระดับ M ทำบันทึกข้อตกลงเข้าเป็นเครือข่ายกับรพ.ระดับสูงกว่าในการรับส่งต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 4. โรงพยาบาลทุกแห่งมีบริการมาตรฐานอย่างน้อย 1 อย่าง ดังต่อไปนี้ 4.1 การให้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำภายใน 4.5 ชั่วโมงหลังเกิดอาการ 4.2 หออภิบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Unit) ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก 4.2.1 สถานที่เฉพาะไม่น้อยกว่า 4 เตียง 4.2.2 ทีมสหวิชาชีพ ที่มีความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมอง 4.2.3 มีแผนการรักษาโรคหลอดเลือดสมอง (Caremaps) และแผนการให้ความรู้ ที่ จัดเตรียมไว้แล้วโดยผ่านการประชุมของทีมสหวิชาชีพของ สถานพยาบาลนั้นๆ 4.3 การให้ยา Aspirin ทางปากภายใน 48 ชั่วโมงหลังเกิดอาการ
Kidney ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ที่สิ้นปีงบ 2560 ร้อยละของผู้ป่วย CKD มีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73 m2/yr เป้าหมาย : 12 เดือน > 65% (แหล่งข้อมูล : HDC กสธ.) ตัวชี้วัดเป้าหมายระบบบริการ ที่สิ้นปีงบ 2560 มีบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม >50% ใน รพ.ระดับ F3 รพ.ระดับ F2 ขึ้นไป >50% ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกชะลอไตเสื่อมคุณภาพ (ประเมินตนเองทั้งหมด และ สุ่มตรวจโดยส่วนกลาง) มีการตรวจ serum Cr ด้วย enzymatic method 100% ใน รพ.ระดับ F2 ขึ้นไป ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการค้นหาและคัดกรอง CKD >80% (แหล่งข้อมูล : HDC กระทรวง สธ.)
Kidney เป้าประสงค์ ลดจำนวนผู้ป่วยโรคไตรายใหม่โดยเฉพาะในกลุ่ม DM, HT ลดจำนวนผู้ป่วย ESRD ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับการดูแลที่เหมาะสม มาตรการสำคัญ ปีงบฯ 2560 การขยายบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม และ พัฒนาทีมสหวิชาชีพใน รพ.ระดับ F3 พัฒนา อาสาสมัครครอบครัว พัฒนาระบบ palliative care สำหรับผู้ป่วย ESRD ที่ปฏิเสธการบำบัดทดแทนไต การขยายบริการ PD ใน รพ.ระดับ M2/F1 วางมาตรการและสร้างเครือข่ายการควบคุมคุณภาพหน่วย HD และ PD พัฒนาศูนย์ vascular access for HD ในระดับเขต พัฒนาระบบฐานข้อมูล HDC ให้มีความถูกต้องมากขึ้น
Transplant เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ที่สิ้นปีงบ 2560 เพิ่มจำนวนการบริจาคอวัยวะในประเทศ เพิ่มคุณภาพอวัยวะบริจาคในประเทศ เพิ่มการเข้าถึงบริการการปลูกถ่ายไต และ ( กระจกตา) ของประเทศ (สนับสนุนโครงการดวงตาสดใส เทิดไท้ 84 พรรษา มหาราชินี ) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ที่สิ้นปีงบ 2560 มีจำนวนการปลูกถ่ายไตในประเทศรวม >650 ราย มีจำนวนการปลูกถ่ายกระจกตาในประเทศรวม >1600 ราย มีจำนวนผู้บริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย > 1 : 100 Hospital death (>250 ราย) มีจำนวนผู้บริจาคดวงตาจากผู้ป่วยเสียชีวิต > 5 : 100 Hospital death (>500 ราย)
Transplant แนวทางการตั้งเป้าหมายจำนวน donor ของแต่ละ รพ. เริ่มจากการกำหนดเป้าหมายยอด brain death donor รวมของประเทศ = 250 คน และนำมากำหนดเป้าหมาย organ donor ราย รพ.ตามการ weight น้ำหนักพิจารณาจาก hospital death รวม และ traffic death และผลงานที่เคยทำมาก่อน (ให้น้ำหนักในการพิจารณาน้อยกว่าจำนวน death ใน รพ.) ของแต่ละ รพ. ส่วน cornea donor ตั้งเป้า 2 เท่าของเป้า organ donor ของ รพ.นั้นๆ เนื่องจาก cornea สามารถเก็บได้จากทั้งผู้ป่วย brain death และ cardiac death ต่างจาก organ donor ที่เก็บ organ ได้จาก brain death donor เท่านั้น
Transplant
ตัวชี้วัดเป้าหมายระบบบริการ ที่สิ้นปีงบ 2560 มีศูนย์ปลูกถ่ายไตใน รพ. ระดับ A ในเขต 5 (รพ.ราชบุรี) มีศูนย์รับบริจาคอวัยวะและ (ดวงตา) ใน รพศ. ทั้ง 33 แห่ง มาตรการสำคัญ ขยายศูนย์ปลูกถ่ายไตใน รพ. ระดับ A ในเขต 5 (รพ.ราชบุรี) อบรมเครือข่ายบริการรับบริจาคอวัยวะ 2 ภาค พัฒนาหลักสูตรเฉพาะทางพยาบาลประสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะ สื่อสารประชาสัมพันธ์ทั้งส่วนกลาง และ ลงในชุมชนโดยใช้ฐาน รพ. Donor 42 แห่ง จัดให้มีศูนย์รับบริจาคอวัยวะและดวงตาใน รพศ. ทั้ง 33 แห่งทั่วประเทศ อบรมการรับบริจาคและจัดเก็บดวงตาในส่วนกลางและในส่วนภูมิภาค
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน อัตราการเสียชีวิตจาก การบาดเจ็บ (Ps Score > 0.75) < 1 % ระบบ ECS คุณภาพในโรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป > 60 %
ปี 2559
อัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma) การเสียชีวิตของผู้ป่วยในจากการบาดเจ็บ ที่มี Ps score มากกว่าหรือเท่ากับ 0.75 หมายถึง การเสียชีวิตของผู้ป่วยบาดเจ็บทั้งหมด ซึ่งมีการคำนวณ ค่า Probability of survival (Ps) ได้มากกว่าหรือเท่ากับ 0.75 (เอกสารแนบนิยาม Multiple injuries) อย่างไรก็ตาม เพื่อลด ความสูญเสีย การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ กรณีที่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาล ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติจากการบาดเจ็บ ได้รับบริการการแพทย์ อย่าง รวดเร็ว ทั่วถึง และ ปลอดภัย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตที่ป้องกันได้ของกลุ่มผู้ป่วยบาดเจ็บที่ได้รับการรักษาภายใน รพ. 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่รับไว้ใน รพ. ประชากรกลุ่มเป้าหมาย : ผู้ป่วยบาดเจ็บที่รับเข้ารักษาภายในโรงพยาบาลทุกราย ที่มีค่า Ps score มากกว่าหรือเท่ากับ 0.75 วิธีการจัดเก็บข้อมูล : โปรแกรม IS WIN : ฐานข้อมูล IS : ประเมินติดตาม ทุก 6 เดือน (ข้อมูล 3 เดือนย้อนหลัง) A = จำนวนผู้ป่วยใน จากการบาดเจ็บ (19 สาเหตุ) ที่มีค่า Ps score มากกว่าหรือเท่ากับ 0.75 และเสียชีวิต B = จำนวนผู้ป่วยใน จากการบาดเจ็บ (19 สาเหตุ) ทุกราย ที่มีค่า Ps score มากกว่าหรือ เท่ากับ 0.75 (A/B) x 100 สูตรคำนวณตัวชี้วัด : เกณฑ์เป้าหมาย : ผู้ป่วยบาดเจ็บที่รับเข้ารักษาภายในโรงพยาบาลทุกราย ที่มีค่า Ps score มากกว่าหรือเท่ากับ 0.75 และเสียชีวิต มีน้อยกว่า ร้อยละ 1
ร้อยละของระบบ ECS คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป ECS : Emergency Care System ( ระบบ การรักษาพยาบาลฉุกเฉิน ) หมายถึง ระบบการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้ เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการดูแลรักษาที่มี คุณภาพ และป้องกันภาวะทุพพลภาพ ที่ อาจเกิดขึ้น ทั้งในภาวะปกติ และ ภาวะภัย พิบัติ ประกอบด้วย : prevention /pre hospital care/ In hospital care /Definitive care /Inter hospital care/ Referral System) รวมถึง การจัดระบบบริบาลกรณีเกิด อุบัติเหตุหมู่ (Mass Casualties Incident) และ การ เตรียมแผนรองรับภัยพิบัติ ของสถานพยาบาล/ โรงพยาบาล (Disaster preparedness& Hospital preparedness for Emergency) ในปี พ.ศ. 2560 เลือกประเมิน ในองค์ประกอบที่ 4 จากทั้งหมด 12 องค์ประกอบ เรื่อง “ความสามารถในการรองรับภาวะฉุกเฉินหมู่และภาวะภัยพิบัติ (MCI และ Disaster management)” โดยเพื่อนำข้อมูลที่ได้ รวมทั้งข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ เป็นข้อมูลพื้นฐานเปรียบเทียบกับปีถัดไป เพื่อพัฒนาให้เกิด ECS คุณภาพ (out put) ปีถัดไป วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด เพื่อพัฒนาระบบ ECS อย่างครบวงจร ให้ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการดูแลรักษาที่มีคุณภาพและป้องกันภาวะทุพพลภาพ ที่อาจเกิดขึ้นทั้งในภาวะปกติ และ ภาวะภัยพิบัติ เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานสำหรับโรงพยาบาลในการประเมินความเสี่ยงของตนเอง และจัดทำแผนรองรับภัยพิบัตินั้นๆ เพื่อพัฒนาทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ให้มีความพร้อม ทั้งในภาวะปกติ และ ภาวะภัยพิบัติ
ร้อยละของ ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป มิติที่ 1 มิติการบริการ และนโยบาย มิติที่ 2 มิติผู้ให้บริการ จะเน้นในประเด็น ความพร้อมของทรัพยากร ได้แก่ อาคารสถานที่ บุคลากร ระบบการให้คำปรึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล มิติที่ 3 มิติด้านผู้รับบริการคือ เน้นในด้านผลลัพธ์จากการเข้ารับบริการรักษาพยาบาล “การรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล” เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของการพัฒนาโรงพยาบาลในระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน หมายถึง ความสามารถของห้องฉุกเฉินที่ให้บริการต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน ในกระบวนการต่างๆ ได้แก่ 1) Triage 2) Resuscitation 3) Stabilization 4) การจัดบริการด่วนพิเศษ (Special Track) และ 5) Definitive Care ในโรงพยาบาล วัตถุประสงค์ เพื่อรองรับผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ การเก็บข้อมูลตัวชี้วัด ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป ในปี 2560 : จึงได้กำหนดให้วัดผลลัพธ์ (out come) การจัดบริการด่วนพิเศษ (Special Track) ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะ OHCA ที่ได้รับการฟื้นคืนชีพจนผู้ป่วยรู้สึกตัวและมีสัญญานชีพคืนมา (ROSC : Return of Spontaneous Circulation)
Newborn Health outcome: อัตราการตายทารกแรกเกิดลดเป็น ตัวชี้วัดปี 2560 Health outcome: อัตราการตายทารกแรกเกิดลดเป็น 4 : 1000 ทารกเกิดมีชีพ Service outcome: เพิ่มเตียง NICU ให้ได้ตามเกณฑ์1:500 ทารกคลอดโดยนับรวมเป็นเขต มีการจัดระบบIntrauterine transfer ให้มารดาคลอดในรพ.ที่มีความสามารถในการดูแลทารกแรกเกิดกลุ่มเสี่ยง มีการบริหารจัดการเตียงเพื่อการรองรับการส่งกลับไปรักษาต่อเนื่องเมื่อผู้ป่วยสามารถกลับไปดูแลต่อที่สถานพยาบาลใกล้บ้านได้แล้ว (Stepdown bed for refer back) ทั้งนี้เพื่อลดความแออัดของโรงพยาบาลระดับ A มีการคัดกรองโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดทุกราย
Cancer มาตรการสำคัญ 1. บริหารจัดการห้องผ่าตัดเพื่อรองรับผู้ป่วยโรคมะเร็งและโรคอื่นๆอย่างเหมาะสม 2. พัฒนาศักยภาพในการให้ยาเคมีบำบัดมะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักโดยศัลยแพทย์ 3. วางแผนพัฒนาครุภัณฑ์/บุคลากรด้านรังสีรักษาจากข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก มะเร็งปากมดลูก
สาขาสุขภาพจิต จิตเวช อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่สูงกว่า 6.3 ต่อแสนประชากรไทย KPI ระดับกระทรวง ร้อยละ 5 ของจำนวนผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จลดลงจากเดิม Health outcome ร้อยละ 80 ของผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับไปทำร้ายตนเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี ร้อยละ 50ของกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ร้อยละของสถานพยาบาลที่มีมาตรฐานในการให้บริการจิตเวช ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยโรคกลุ่มเสี่ยง (โรคจิต โรคซึมเศร้า) เข้าถึงบริการ Service outcome
การตรวจราชการปี 2560 สาขาสุขภาพจิต จิตเวช - มีระบบบริการตามมาตรฐานและระบบบริการจิตเวชเร่งด่วน (acute care) และ - การจัดให้มียาจิตเวชที่จำเป็นพอเพียงสำหรับโรคจิตเวชที่สำคัญในโรงพยาบาลทุกระดับ - การเฝ้าระวังคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง(โรคจิต โรคซึมเศร้า โรคเรื้อรัง โรคสุรา สารเสพติด และครอบครัวผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จ) - ดูแลต่อเนื่องตามแนวทางมาตรฐาน (บูรณาการร่วมกันกับ SP สาขาอื่นที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย) - การติดตามดูแลผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและพยายามฆ่าตัวตายไม่ให้ฆ่าตัวตายซ้ำ ตามแนวทางมาตรฐาน - การบูรณาการระบบการป้องกันการฆ่าตัวตายที่เชื่อมกับ DHS ในเขตสุขภาพ - สร้างความตระหนักของประชาชนทั่วไปและญาติ แกนนำชุมชน ให้รู้ถึงสัญญาณเตือนของการฆ่าตัวตายและการช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ที่เสี่ยงและผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย มาตรการ
โรงพยาบาลทุกระดับ (A,S,M,F) สาขา Palliative Care เป้าหมาย ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลแบบประคับประคองอย่างเหมาะสม และตายอย่างสมศักดิ์ศรี Health Outcome ผู้ป่วยระยะท้ายเข้าถึงการดูแลรักษาแบบประคับประคองจาก ทีมสุขภาพ ครอบครัวและชุมชน ตลอดจนตัวผู้ป่วยเอง ในช่วงเวลาของภาวะโรคและอาการอย่างเหมาะสม ผู้ป่วยระยะท้ายและครอบครัวได้รับข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมในการวางแผนล่วงหน้า (Advance Care Plan) เพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามสภาพจนถึงวาระสุดท้ายของ ชีวิต Service Outcome เป้าหมายดำเนินการ โรงพยาบาลทุกระดับ (A,S,M,F)
กลุ่มโรคที่ต้องได้รับการดูแลแบบประคับประคอง (เป็นอย่างน้อย) โรคมะเร็ง Neurological Disease /Stroke โรคไตในระยะที่ต้องได้รับการบำบัดทดแทนไต (Renal Replacement Therapy) และกลุ่มที่มีภาวะไตวายเรื้อรังเริ่มเข้าสู่ภาวะคุกคามต่อชีวิต การรักษาเป็นไปเพื่อประคับประคองและชะลอการเสื่อมของไต Pulmonary and Heart Disease Multiple Trauma Patient Infectious Disease HIV/AIDS Pediatric Aging /Dementia
Criteria ของผู้ป่วยที่เข้าสู่ภาวะ Palliative Care โรคอยู่ในระยะลุกลาม ไม่คงตัว มีอาการซับซ้อน ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ผู้ป่วย/ครอบครัวเลือกที่จะไม่รักษาตัวโรคต่อไป Terminal Delirium Multiple Co-morbidity ผู้ป่วยมีการถดถอยของการประกอบกิจกรรมประจำวันนั่งหรือนอนมากกว่าร้อยละ 50 ของวัน การประเมินสมรรถนะใช้ PPS ≤ ร้อยละ 50 การประเมิน Functional Assessment ได้แก่ Karnofsky Score (KPS) ≤ ร้อยละ 50 หรือ ECOG ≥ 3 Cachexia, น้ำหนักลดต่อเนื่อง, Serum albumin < 2.5 mg/dl ต่อเนื่อง Persistent Hypercalcemia เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลบ่อยครั้ง มีเหตุการณ์ที่มีผลกระทบ เช่น การล้มรุนแรง ภาวะสูญเสีย การรับเข้าดูแล ในสถานพยาบาล/บริบาล
มาตรการ : การขยายบริการการดูแลแบบประคับประคอง ให้ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ โรงพยาบาลระดับ M2, F 1-3 (ระยะ 3 เดือน) : 1. มีคณะกรรมการการดูแลแบบประคับประคอง 2. มีการแต่งตั้งเลขานุการ ซึ่งเป็นพยาบาลที่ผ่านการการอบรมหลักสูตร Palliative Care 3. มีแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุ่มโรคสำคัญของโรงพยาบาล (ระยะ 6 เดือน) : 1. ประเมินผลตามรอบ 3 เดือน 2. มีเตียง Palliative Care พร้อมพยาบาลดูแลที่ผ่านการการอบรมหลักสูตร Palliative Care 3. กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care ≥ ร้อยละ 50 (ระยะ 9 เดือน) : 1. ประเมินผลตามรอบ 6 เดือน 2. มีระบบบริการ หรือ Function การทำงานการเชื่อมโยงดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (ระยะ 12 เดือน) : 1. ประเมินผลตามรอบ 9 เดือน 2. มีการรักษาด้วย Strong Opioid Medication ≥ ร้อยละ 20 ของจำนวนผู้ป่วยได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care 3. มีการดูแลแบบการแพทย์แผนไทย และ/หรือ การแพทย์ทางเลือก
มาตรการ : การขยายบริการการดูแลแบบประคับประคอง ให้ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ โรงพยาบาลระดับ A,S,M1 (ระยะ 3 เดือน) : 1. มีคณะกรรมการ /หรือศูนย์การดูแลแบบประคับประคองที่ประกอบด้วยบุคลากรสหสาขาที่เกี่ยวข้อง 2. มีการแต่งตั้งเลขานุการ ซึ่งเป็นพยาบาลที่ผ่านการการอบรมหลักสูตร Palliative Care 3. มีการกำหนดแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุ่มโรคสำคัญของโรงพยาบาล (ระยะ 6 เดือน) : 1. ประเมินผลตามรอบ 3 เดือน 2. มีจัดตั้งกลุ่มงานพยาบาล Palliative Care โดยมอบหมายให้พยาบาลรับผิดชอบเต็มเวลา 3. กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care ≥ ร้อยละ 50 (ระยะ 9 เดือน) : 1. ประเมินผลตามรอบ 6 เดือน 2. มีระบบบริการ หรือ Function การทำงานการเชื่อมโยงดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (ระยะ 12 เดือน) : 1. ประเมินผลตามรอบ 9 เดือน 2. มีการรักษาด้วย Strong Opioid Medication ≥ ร้อยละ 30 ของจำนวนผู้ป่วยได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care 3. มีการดูแลแบบการแพทย์แผนไทย และ/หรือ การแพทย์ทางเลือก
ไตรมาส 4 = 17.18
สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผน ไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน > 18.5) - คลินิกการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับเข้าสู่กระบวนการการรับรองคุณภาพ (ตามแผน Service Plan ) - สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งจัดบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่มีคุณภาพมาตรฐานตามบริบทของหน่วยบริการ สถานบริการเช่น OPD คู่ขนาน คลินิกครบวงจร IPD แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สาธารณสุขทุกแห่งมีการใช้ยาสมุนไพร จัดทำแผนพัฒนาระบบบริการ ผ่านมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน มีผู้รับผิดชอบ A= จำนวนครั้งที่มารับบริการการแพทย์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ B= จำนวนครั้งที่มารับบริการทั้งหมดของสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ (A/B) X 100
โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU Hospital) มีการจัดแบ่งระดับของการพัฒนาเป็น 3 ขั้น ดังนี้ ขั้นที่ 1 หมายถึง โรงพยาบาล/เครือข่ายบริการสุขภาพระดับ อำเภอ มีการดำเนินงาน 1 การกำหนดนโยบายเป็น RDU Hospital และ 2 คณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงาน มีมาตรการและกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาอย่างสม เหตุผล 3 พัฒนาระบบสารสนเทศในการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด RDU 20 ตัวชี้วัด และ 4 ติดตามประเมินผล (กรณีโรงพยาบาล ระดับ A, S และ M1 จะต้อง 5 แผนปฏิบัติการการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ ในโรงพยาบาล ทั้ง 6 การเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ การดูแลกำกับการใช้ยา ปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล และ 7 ระบบติดตามและรายงานอัตราการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ) ขั้นที่ 2 หมายถึง โรงพยาบาล/เครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ มีการดำเนินการตามตัวชี้วัด RDU และผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่า 8 ตัวชี้วัด จาก 20 ตัวชี้วัด (กรณีโรงพยาบาล ระดับ A, S และ M1 ต้องมีรายงานอัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด) ขั้นที่ 3 หมายถึง โรงพยาบาล/เครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ มีการดำเนินการตามตัวชี้วัด RDU และผ่านเกณฑ์ไม่น้อย กว่า 16 ตัวชี้วัด จาก 20 ตัวชี้วัด (กรณีโรงพยาบาล ระดับ A, S และ M1 ต้องมีการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดลดลง จากปีก่อน)
เป้าหมายการดำเนินการ ประเด็น ปีงบประมาณ 2560 RDU โรงพยาบาล RDU ขั้นที่ 1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลทั้งหมด AMR รพ. ระดับ A, S และ M1 มีแผนปฏิบัติการการจัดการ การดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) ในโรงพยาบาล การเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ และการดูแลกำกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล มีข้อมูล (Baseline Data) ของอัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด รพสต. มีการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะ กลุ่มโรคทางเดินหายใจส่วนบน โรคอุจาระร่วงเฉียบพลัน
ตัวชี้วัด RDU ระดับโรงพยาบาล ( RDU 1 - RDU Hospital) จำนวน 18 ตัวชี้วัด ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ 1 ร้อยละของรายการยาที่สั่งใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ รพ.ระดับ A ≥ ร้อยละ 75 S ≥ ร้อยละ 80 M1-M2 ≥ ร้อยละ 85 F1-F3 ≥ ร้อยละ 90 2 ประสิทธิผลการดำเนินงานของคณะกรรมการ PTC ในการชี้นำสื่อสาร และส่งเสริมเพื่อนำไปสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล ระดับ 3 3 การดำเนินงานในการจัดทำฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และเอกสารข้อมูลยาใน 13 กลุ่ม ที่มีรายละเอียดครบถ้วน รายการยา 13 กลุ่ม 4 รายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ ซึ่งยังคงมีอยู่ในบัญชีรายการยาของโรงพยาบาล ≤ 1 รายการ 5 การดำเนินงานเพื่อส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อและส่งเสริมการขายยา 6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก ≤ ร้อยละ 20 7 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 8 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ≤ ร้อยละ 40 9 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ≤ ร้อยละ 10 10 ร้อยละของผู้ป่วยความดันเลือดสูงทั่วไป ที่ใช้ RAS blockade (ACEI/ ARB/ Renin inhibitor) 2 ชนิดร่วมกัน ในการรักษาภาวะความดันเลือดสูง ร้อยละ 0
ตัวชี้วัด RDU ระดับโรงพยาบาล ( RDU 1 - RDU Hospital) จำนวน 18 ตัวชี้วัด ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ 11 ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ glibenclamide ในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปี หรือมี eGFR น้อยกว่า 60 มล./นาที/1.73 ตารางเมตร ≤ ร้อยละ 5 12 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ใช้ยา metformin เป็นยาชนิดเดียวหรือร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล โดยไม่มีข้อห้ามใช้ (ห้ามใช้หาก eGFR < 30 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) ≥ ร้อยละ 80 13 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการใช้ยากลุ่ม NSAIDs ซ้ำซ้อน 14 ร้อยละผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับยา NSAIDs ≤ ร้อยละ 10 15 ร้อยละผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรังที่ได้รับยา inhaled corticosteroid 16 ร้อยละผู้ป่วยนอกสูงอายุ (มากกว่า 65 ปี) ที่ใช้ยากลุ่ม long-acting benzodiazepine ได้แก่ chlordiazepoxide, diazepam, dipotassium chlorazepate 17 จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ ได้แก่ ยา warfarin*, statins, ergots เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์แล้ว (* ยกเว้นกรณีใส่ mechanical heart valve) 18 ร้อยละของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (ครอบคลุมโรคตามรหัส ICD-10 ตาม RUA-URI) และได้รับยาต้านฮิสตามีนชนิด non-sedating ≤ ร้อยละ 20 19 ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ≤ ร้อยละ 20 100 % 20 ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่าย ที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ≤ ร้อยละ 20
ปี 2559
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง COPD อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เป้าหมาย น้อยกว่า 130 ต่อแสนประชากร (ประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ) วิธีประเมิน A = จำนวนครั้งของการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเป็นโรคหลัก (PDx = J440-J449) B = จำนวนประชากรกลางปี อายุ15ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบจากฐานข้อมูลประชากร สูตรคำนวณตัวชี้วัด A/B x 100,000 แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลผู้ป่วยใน 43 แฟ้มของสถานพยาบาล
ตัวชี้วัด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 2. อัตราการมีคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังครบวงจรและได้มาตรฐาน มากกว่า 60 % - วินิจฉัยถูกต้องตามมาตรฐานการรักษา - มีการติดตามการรักษาเช่น MMRC, CAT score - มีการประเมินการใช้ยาพ่นควบคุม (controller) - ให้คำแนะนำการสูบบุหรี่ในผู้ที่ยังสูบ วิธีประเมิน A = จ่านวนผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในการประเมินและติดตามครบ 4 ประเด็น B = จ่านวนผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังทั้งหมดในโรงพยาบาล สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 ประเมินผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ให้เข้าถึงบริการตามมาตรฐาน
อายุรกรรม แก้ปัญหาการตายจาก Sepsis มาตรการสำคัญ แก้ปัญหาการตายจาก Sepsis จัดทำ guideline ในการดูแลรักษา - sepsis Decrease refer in sepsis 30 % Outcome indicator อัตราตายจาก sepsis / Septic Shock < 30 % Decrease refer in from M2 to A,S,M1 ให้ได้ 25 %
สูติกรรม อัตราตายมารดาจากการตกเลือดหลังคลอด = 0 มาตรการสำคัญ แก้ปัญหามารดาที่ตกเลือดหลังคลอด เพิ่มศักยภาพในการผ่าตัด - Caesarean section ใน ร.พ. ตั้งแต่ M2 ลงไป Caesarean section at M2 25 % Outcome indicator อัตราตายมารดาจากการตกเลือดหลังคลอด = 0 Decrease refer in from M2 to A,S,M1 ให้ได้ 25 %
ศัลยกรรม เพิ่มศักยภาพในการผ่าตัด appendectomy ใน ร.พ. ตั้งแต่ M2 ลงไป มาตรการสำคัญ ศัลยกรรม เพิ่มศักยภาพในการผ่าตัด appendectomy ใน ร.พ. ตั้งแต่ M2 ลงไป Appendectomy at M2 25 % Outcome indicator อัตราไส้ติ่งแตก ไม่เกิน 20 % Decrease refer in from M2 to A,S,M1 ให้ได้ 25 %
มาตรการสำคัญ ศัลยกรรมกระดูก ให้การดูแลรักษา non displaced fracture ใน ร.พ.ตั้งแต่ M2 ลงไป 70 % Outcome indicator Decrease refer in from M2 to A,S,M1 ให้ได้ 25 %
กุมารเวชกรรม เพิ่มศักยภาพ respirator care ในเด็ก มาตรการสำคัญ เพิ่มศักยภาพ respirator care ในเด็ก Decrease refer in pediatric respirator 30 % Outcome indicator อัตรการตายโรคปอดบวมในเด็ก 1 ด – 5 ปี ลดลง ร้อยละ 10 Decrease refer in from M2 to A,S,M1 ให้ได้ 25 %
Eye Service Plan
ร้อยละของผู้สูงอายุ > 60 ปี ได้รับการคัดกรองสายตา > 75 % ตัวชี้วัด ปี 2560 ร้อยละของผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน > 80 % คำจำกัดความ ตัวตั้ง (A) จำนวนผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจกที่ได้รับการผ่าตัด ตัวหาร (B) จำนวนผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจกทั้งหมด A B x 100 วิธีคำนวณ ร้อยละของผู้สูงอายุ > 60 ปี ได้รับการคัดกรองสายตา > 75 % คำจำกัดความ ตัวตั้ง (A) จำนวนผู้สูงอายุ > 60 ปี ได้รับการคัดกรองสายตา ตัวหาร (B) จำนวนผู้สูงอายุ > 60 ปี ทั้งหมด A B x 100 วิธีคำนวณ
สุขภาพช่องปาก
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาสุขภาพช่องปาก ปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นปัญหาสำคัญของประชาชนทุกกลุ่มวัย ทั้ง 5 กลุ่มเป้าหมาย การพัฒนาบริการ ตัวชี้วัดการพัฒนา การบูรณาการบริการทันตฯในแผน PP กลุ่มวัยและ แผน OHSP บริการทันตฯในปฐมูมิ รพ.สต.มีบริการสุขภาพช่องปากคุณภาพ >= ร้อยละ 60 เพิ่มอัตราเข้าถึงบริการ > = 35 % รพ.ระดับ A-F1 มีบริการทันตกรรมเฉพาะทางครบทุกสาขาตามเกณฑ์ใน 5 ปี มีศูนย์เชี่ยวชาญทันตกรรม ปี 2559 ภาคละ 1 แห่ง แผนการพัฒนาปฐมภูมิ ตั้งแต่ปี 2556 - 2563 พัฒนาทันตกรรมเฉพาะทาง พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญ แผนทันตกรรมเฉพาะทาง/ศูนย์เชี่ยวชาญ ตั้งแต่ปี 2558 - 2563 การบูรณาการการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากในระบบ DHS ลดปัญหาสุขภาพช่องปากวัยเด็ก อัตราฟันผุในเด็ก ในกลุ่ม 3 ปี / 12 ปี =< 52 % ตัวชี้วัดปี 2560 : รพ.สต.มีบริการสุขภาพช่องปากคุณภาพ >= ร้อยละ 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: ร้อยละรพ.สต./ศสม.ที่จัดบริการสุขภาพช่องปาก ที่มีคุณภาพ > 60 % คือ บริการได้ครบ 2 องค์ประกอบ การจัดบริการสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์ใน 6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรม จัดบริการสุขภาพช่องปากที่ครอบคลุมประชากรร้อยละ 20 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ มีกิจกรรม ตรวจสุขภาพช่องปาก ขูดหินน้ำลายและ อุดฟัน และ บริการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ กลุ่มเด็กใน WCC และ กลุ่มศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีกิจกรรม ตรวจช่องปาก การฝึกพ่อแม่/ผู้ดูแลเด็กแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ เด็กได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช และ บริการทันตกรรม กลุ่มวัยเรียนประถมศึกษา กิจกรรมนักเรียนป. 1ได้รับการตรวจช่องปาก และ เคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 นักเรียนป.1 - 6 ได้รับบริการทันตกรรม กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มสูงอายูและผู้ป่วยเบาหวาน มีกิจกรรม ตรวจการตรวจช่องปาก
> 10 %
กรอบแนวคิดคิด
โรงพยาบาลเป้าหมาย ผ่านขั้น 3 + Reaccredit 1.โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป โรงพยาบาลสังกัด กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค กรมสุขภาพจิต 167 แห่ง 2.โรงพยาบาลชุมชน 780 แห่ง
ขอบันดาล ธ ประสงค์ใด จงสฤษดิ์ดัง หวังวรหฤทัย ดุจถวายชัย ชโย ข้าวรพุทธเจ้า เอามโนและศิระกราน นบพระภูมิบาล บุญดิเรก เอกบรมจักริน พระสยามินทร์ พระยศยิ่งยง เย็นศิระเพราะพระบริบาล ผลพระคุณ ธ รักษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์ ขอบันดาล ธ ประสงค์ใด จงสฤษดิ์ดัง หวังวรหฤทัย ดุจถวายชัย ชโย ข้าวรพุทธเจ้า เอามโนและศิระกราน นบพระภูมิบาล บุญดิเรก เอกบรมจักริน พระสยามินทร์ พระยศยิ่งยง เย็นศิระเพราะพระบริบาล ผลพระคุณ ธ รักษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์ ขอบันดาล ธ ประสงค์ใด จงสฤษดิ์ดัง หวังวรหฤทัย ดุจถวายชัย ชโย