โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
แนวทางการสนับสนุนงบบริการสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรค (PPA-PPD) เพื่อ สนับสนุนนโยบายทีมหมอครอบครัว (FCT) ปี 2558 เขต 9 นครราชสีมา งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิและเวชปฏิบัติครอบครัว.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
การดูแลผู้สูงอายุเครือข่ายพนมสารคาม
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ ตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2551 (ตุลาคม 2550 - กันยายน 2551)

สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละผู้มีฟันใช้งานตามเกณฑ์ ร้อยละ 50 ของประเทศ

ความครอบคลุมของการรักษาและส่งเสริมป้องกันผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่

สถานการณ์ชมรมผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ชมรมผู้สูงอายุในโรงพยาบาลทุกอำเภอ จำนวน 24 อำเภอ กิจกรรมที่มีการดำเนินงานต่อเนื่อง - ออกกำลังกาย - ประกวดผู้สูงอายุในกิจกรรมวันผู้สูงอายุแห่งชาติ

วัตถุประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ โดย - สร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้สูงอายุ - จัดระบบบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามความจำเป็น 2. สร้างความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ เพิ่มประสิทธิภาพ การตรวจเฝ้าระวัง ตรวจเฝ้าระวังคัดกรอง กลุ่มเสี่ยง ขยายกลุ่มเป้าหมายเพิ่ม พัฒนาด้านส่งเสริม ป้องกัน ให้คำแนะนำ ฝึกทักษะ การดูแลทันตสุขภาพ การใช้ฟลูออไรด์เสริม จัดบริการเชิงรุก พัฒนาคุณภาพระบบ การรักษา การเข้าถึงบริการ จัดบริการใส่ฟันเทียม พัฒนาระบบส่งต่อ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล การมีส่วนร่วมของ อปท., ชุมชน สร้างแกนนำผู้สูงอายุ เยี่ยมบ้าน อปท. สนับสนุนกิจกรรม, งบประมาณ สร้างนวัตกรรมในชุมชน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผู้สูงอายุจาก 5 อำเภอ ตรวจคัดกรองอำเภอละ 300 คน รวมทั้งหมด 1,500 คน เป้าหมาย 5 อำเภอ ในจังหวัดเชียงใหม่ คือ อำเภอ สันทราย อำเภอ สารภี อำเภอ ฝาง อำเภอหางดง อำเภอ สันป่าตอง ผู้สูงอายุจาก 5 อำเภอ ตรวจคัดกรองอำเภอละ 300 คน รวมทั้งหมด 1,500 คน

งบ PP area base (Development Model) งบประมาณ 51,000 บาท/อำเภอ งบ PP area base (Development Model) ค่าวัสดุ, ฟลูออไรด์วานิช, ขูดหินปูน, ค่าบันทึกข้อมูล ดำเนินการสนับสนุนชมรมผู้สูงอายุทำกิจกรรม ประเมินความพึงพอใจต่อการทำโครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ

แผนภูมิแสดงร้อยละผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน ผลการดำเนินงาน แผนภูมิแสดงร้อยละผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน

ผลการดำเนินงาน แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงาน แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อโรคปริทันต์และสภาวะรากฟันผุ

ผลการดำเนินงาน แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปาก

สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน) สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน) คัดเลือกแกนนำคุ้ม ป๊อก เพื่อประชาคมสุขภาพ จัดเวทีการเรียนรู้ด้วยตนเอง แกนนำขยายผลสู่ครอบครัว สมาชิกในป๊อก และจัดเก็บข้อมูล

สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน) สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน) 4. แกนนำสร้างเครือข่ายในป๊อก ในการส่งเสริมสุขภาพ 5. อบรมความรู้สุขภาพช่องปากโดยการแบ่งฐาน 6. เพิ่มทักษะในการแปรงฟัน, ย้อมสีฟันและดูแลสุขภาพในช่องปาก

สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน) สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สันทราย : ชมรมผู้สูงอายุบ้านขัวมุง(74 คน) 7. มีการพบปะ เสวนาเรื่องอาหารสุขภาพส่งเสริมให้รับประทานอาหารผักและผลไม้ 8. ผู้สูงอายุเป็นต้นแบบในการดูแลสุขภาพช่องปากและให้ความรู้ ลูกหลานได้ 9. เยี่ยมบ้าน สิ่งที่พบภูมิปัญญาในการทำไม้จิ้มฟันวิเศษ

สารภี : ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่ากว้าง (503 คน) สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สารภี : ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่ากว้าง (503 คน) 1. อบรมแกนนำในการให้ทันตสุขภาพแบบองค์รวม 2. บูรณาการคัดกรองโรคในช่องปากร่วมกับการคัดกรองโรคเรื่อรังอื่นๆ

3. เพิ่มทักษะประสิทธิภาพการแปรงฟัน สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สารภี : ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่ากว้าง (503 คน) 3. เพิ่มทักษะประสิทธิภาพการแปรงฟัน 4. มีการเยี่ยมบ้านโดยใช้ชื่อว่า เพื่อนเยี่ยมเพื่อน

2. เพิ่มทักษะประสิทธิภาพการแปรงฟัน สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น หางดง : ชมรมผู้สูงอายุตำบลหางดง (894 คน) ,ตำบลหนองตอง(1,660 คน) , ตำบลหารแก้ว (924 คน) 1. อบรมแกนนำผู้สูงอายุ 2. เพิ่มทักษะประสิทธิภาพการแปรงฟัน

หางดง สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น 3. มีการเยี่ยมบ้านโดยแกนนำผู้สูงอายุ และให้ความรู้ทันตสุขภาพ

ฝาง : ชมรมผู้สูงอายุตำบลแม่งอน (300 คน) สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น ฝาง : ชมรมผู้สูงอายุตำบลแม่งอน (300 คน) 1. ประชุมหารือแกนนำผู้สูงอายุด้านส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 2. เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้

สิ่งดีดีที่เกิดขึ้น สันป่าตอง : ชมรมผู้สูงอายุบ้านแม,มะขามหลวง,ยุหว่า,บ้านกลาง,ทุ่งต้อม(12,000 คน) 1. อบรมแกนนำผู้สูงอายุระดับหมู่บ้านในการดูแลทันตสุขภาพ 2. ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก อบต.ยุหว่า

ปัญหาอุปสรรค 1. ระยะเวลากระชั้นชิด ยังสับสนเรื่องแหล่งงบประมาณ 2. ขั้นตอนการกรอกแบบฟอร์มยุ่งยาก กรณีกรอกเลข 13 หลัก ไม่ถูกต้อง โปรแกรมไม่รับข้อมูล 3. เก็บจำนวนมากแต่ใช้ข้อมูลในการบันทึกน้อย 4. บันทึกข้อมูลไม่ได้ 5. การเข้าถึงบริการของผู้สูงอายุยังไม่ครอบคลุม เนื่องจากไม่สามารถเดินทางมารับบริการได้

ข้อเสนอแนะ จัดหาแหล่งสนับสนุนงบประมาณเพื่อสนับสนุนโครงการ Development Model ปรับโปรแกรมการลงข้อมูลและแบบฟอร์มให้ง่ายต่อการใช้งาน เช่น ค่าBMI วัดรอบเอว ปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคในช่องปาก ฯลฯ ลงข้อมูลไม่ได้ การสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนในการสนับสนุนกิจกรรมในกลุ่มผู้สูงอายุและงบประมาณ ขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุและสร้างแกนนำผู้สูงอายุให้มากขึ้น

สวัสดีเจ้า...