อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 1 : Introduction to Information Technology in Agriculture ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to computers
Advertisements

Create Lists.
เป็นอย่างนี้ หรือเป็นอย่างนี้
การเจรจาเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรมและประมง ภายใต้ WTO
strategy Formulation Structure Architecture Strategy deployment
เศรษฐกิจ FTA Trade Barrier (NTB) Hub CM. การเมือง วิสัยทัศน์ผู้นำ นโยบายผู้ว่า CEO นโยบาย Food Safety การเมืองมีพรรคใหญ่ 2 พรรค ความโปร่งใส เผด็จการ และ.
การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ Customer Relationship Management : CRM
WINDOW ON MANAGEMENT Wi-Fi : Starbucks’s Solution to Go นายพงษ์เทพ พลีขันธ์ รหัส นายวาที วงษ์อินทร์จันทร์ รหัส นายสุเมธ.
Multimedia Systems รศ. ดร. บุญวัฒน์ อัตชู
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
Faculty of Information Science and Technology, MUT 13/8/59 IS/Thesis OverviewIS/Thesis Overview.
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
Lab 01 : พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว
บทที่ 3 การตลาดสำหรับธุรกิจ SME
บทที่ 6 “การตลาดสำหรับธุรกิจขนาดย่อม”
Food safety team leader
ชัยเมศร์ อมรพลสมบูรณ์
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Educational Information Technology
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
GROUP ‘2’ slide to unlock.
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
SERVICE MARKETING พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
สวนรุกขชาติและศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
บทบาทและอำนาจหน้าที่ของสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม (Social & Culture Change)
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของธุรกิจขายสินค้าออนไลน์
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
Educational Standards and Quality Assurance
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
การตรวจสอบย้อนกลับ TRACEABILITY
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
พลตำรวจตรี สุรัตน์ อรุณฤกษ์ถวิล อาจารย์ (สบ
การบริหารการผลิต.
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
Logistics : a Key for Thailand’s Food Hub การสัมมนา “Food Challenges Toward AEC” (Bitec Bangna) โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร
เก็บตกวันวาน “สานพลังสร้างมาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน”
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
การใช้ระบบโปรแกรม การกำหนดสิทธิ์การใช้งาน  เจ้าหน้าที่ บันทึก
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ HR Planning
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
บทที่ 3 พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 1 : Introduction to Information Technology in Agriculture ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

การประยุกต์ใช้ ICT ทางการเกษตร E-Agriculture มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาการเกษตรและ พื้นที่ชนบท โดยใช้กระบวนการทางสารสนเทศ (Information) และการสื่อสาร(Communication)

การใช้ระบบสารสนเทศทางการเกษตรโดยตรง การพัฒนาพันธุ์พืช : ใช้ระบบบริหารจัดการ ทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต สำหรับสังเกตการณ์ เก็บ ข้อมูล และวิเคราะห์การเจริญเติบโต สิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบต่อพืช และโรคพืช การพัฒนาดิน : การใช้ GPS, sensor ในพื้นที่ เกษตรกรรม เพื่อให้ได้รายละเอียดและแผนที่ของ ความอุดมสมบูรณ์ในพื้นที่ เพื่อลดการใช้ต้นทุนที่ ไม่จำเป็นและเพิ่มผลตอบแทน การพยากรณ์อากาศ : เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงใน การเพาะปลูก ภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้นได้

องค์ประกอบในอุตสาหกรรมเกษตร การเพาะปลูก จัดการน้ำ ใช้ปุ๋ย รดน้ำ จัดการศัตรูพืช เก็บเกี่ยว เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ขนส่งผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ถนอมอาหาร เพิ่มมูลค่าอาหาร ควบคุมคุณภาพ เก็บรักษาอาหาร การตลาด

ความต้องการของเกษตรกรในอุตสาหกรรมเกษตร What & When to grow? How to grow more? How to store and preserve? When & Where to sell? What price to sell? การพยากรณ์อากาศ ภัยพิบัติ รูปแบบการปลูกพืช เทคนิคที่ทันสมัยเพื่อใช้ในการเพาะปลูก ระบบชลประทาน สารสนเทศที่ใช้ในการทำการตลาด และ ราคาพืชผลในตลาด

ระบบสารสนเทศที่เกษตรกรต้องการ ฐานข้อมูลเพื่อการแจ้งเตือนสถานการณ์ : ระบบที่ อำนวยความสะดวกในการทำความเข้าใจที่ถูกต้อง ที่เกี่ยวข้องกับการค้าสินค้าแต่ละประเภทใน ตลาดโลก ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ : ระบบสารสนเทศที่ อำนวยความสะดวกในการทำให้เกษตรกรสามารถ วิเคราะห์จุดแข็ง-จุดอ่อนของตนเองได้อย่างถูกต้อง ระบบสังเกตการณ์ : ระบบที่สังเกตการณ์ สถานการณ์ของตลาด สถานการณ์ของอุปสงค์- อุปทาน ในขณะนั้น

สารสนเทศทางการตลาดพืชผลทางการเกษตร ราคาตลาด ผลผลิต การเก็บเกี่ยว บริการให้คำแนะนำแก่เกษตรกร

เครือข่ายของการตลาดบนระบบ ICT การซื้อขายแลกเปลี่ยนผลิตผล การซื้อขายแลกเปลี่ยนในอนาคต

การจัดการห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain Management) พัฒนาปรับปรุงห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) การจัดการเพิ่มพูนองค์ความรู้ภายหลังการเก็บ เกี่ยว ตรวจสอบย้อนกลับได้ (Traceability) คุณภาพและการรับรอง (Quality and Certification)

ผลของการใช้ IT ในด้านการเกษตร ทำให้การตัดสินใจดียิ่งขึ้น : จากการได้ข้อมูล สำคัญจากหลายๆแหล่ง จากการมีช่องทางการ สื่อสารที่ดียิ่งทำให้เกษตรกรสามารถเลือกแหล่งขาย ผลผลิตได้ และยังช่วยให้เกษตรกรรับรู้ปัจจัยที่ ส่งผลกระทบต่างๆได้ ทำให้การวางแผนดียิ่งขึ้น : จากการใช้ระบบ IT ทำให้ทราบว่าผลผลิตใดที่กำลังเป็นที่ต้องการของ ตลาด ทำให้วางแผนได้ว่าควรจะปลูกพืชอะไรใน ช่วงเวลาใด จึงจะได้ผลตอบแทนที่ดีที่สุด การมีส่วนร่วมของชุมชน : การใช้ IT ทำให้ สามารถเพิ่มชุมชนของเกษตรกรในพื้นที่ ที่ สามารถนำไปสู่การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทำ ให้ผลผลิตและผลตอบแทนที่ได้มีมากขึ้น

ผลของการใช้ IT ในด้านการเกษตร (ต่อ) การเกษตรสำหรับทุกๆคน : ทุกคนสามารถทำ การเกษตรที่มีประสิทธิภาพสูงได้ โดยการศึกษา ค้นคว้าผ่านระบบสารสนเทศ กลายเป็นระบบ เกษตรในครัวเรือน สามารถลดค่าใช้จ่ายใน ครัวเรือนลงได้

คลิปวีดีโอ https://www.youtube.com/watch?v=vTDvQT_K enw

References “The Role of Information Technology in Agriculture,” url: http://kgmonline.hubpages.com/hub/The- Role-of-Information-Technology-in-Agriculture, สืบค้นเมื่อ 13 ส.ค. 2558. “Use Of I.T. In Agriculture,” url: http://www.slideshare.net/parth.niitvasai/use- of-it-in-agriculture-1789254, สืบค้นเมื่อ 13 ส.ค. 2558. “ICT in agriculture,” url: https://en.wikipedia.org/wiki/ICT_in_agricultur e, สืบค้นเมื่อ 13 ส.ค. 2558.