สรุปกรณีศึกษา เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
แนวทางการปรับแผนโครงการ และแผนงบประมาณ ภายในหน่วยงาน ปี 2558
ทัศนะเกี่ยวกับการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ประจำปี 2559
1.
คู่มือการยืมเงินราชการและเงินทด รองราชการ วัตถุประสงค์ การยืมเงินราชการและเงินทดรอง ราชการ เป็นกระบวนการหนึ่งของการเบิก จ่ายเงินจากคลัง คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
สัญญาก่อสร้าง.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
บทที่ 13 นโยบายเงินปันผล (DIVIDENE POLICY)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
บทที่ 1 วิวัฒนาการของรายงานทางการเงิน
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2400 (ปรับปรุง)
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การวางแผนกำลังการผลิต
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
27 , 30 ตุลาคม 2549 ธนาคารแห่งประเทศไทย
สรุปวิธีการบันทึกค่าเสื่อมราคาสำหรับปีงบประมาณ 2549
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปกรณีศึกษา เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สรุปกรณีศึกษา เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เสนอ อาจารย์ ดร. ปิติมา ดิศกุลเนติวิทย์

บริษัท Shakespeare ประกอบกิจการสำนักพิมพ์เป็นบริษัทเอกชนและตีพิมพ์ งบแสดงฐานะการเงินในวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดังนี้ สินทรัพย์หมุนเวียน 6,500,000 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 28,250,000 รวม สินทรัพย์ 34,750,000 หนี้สินหมุนเวียน 4,500,000 หนี้สินไม่หมุนเวียน 13,750,000 รวม หนี้สิน 18,250,000 รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น 16,500,000 สรุปผลการดำเนินงานสำหรับสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีรายได้รวม 10.7 ล้านบาทและกำไรสุทธิ 1.2 ล้านบาท บริษัท Shakespeare วางแผนที่อนุมัติให้ออกงบการเงินในวันที่ 20 มีนาคม 2555 โดยวันที่ 18 มีนาคม 2555 ผู้บริหารประเมินข้อมูลเกี่ยวกับรายการคงค้าง 1 รายการ และ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังรอบระยะเวลารายงาน 2 เหตุการณ์ เพื่อตัดสินใจว่า รายการและเหตุการณ์ดังกล่าว ควรจะรับรู้หรือเปิดเผยในงบการเงินสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 หรือไม่

Subsequent events 31 ธันวาคม 2554 20 มีนาคม 2555 18 มีนาคม 2555 Accrual Medical Benefit Payable 2. Events Line of Credit Modification Acquisition

ประกันสุขภาพค้างจ่าย หลายปีที่ผ่านมา บริษัท Shakespeare ได้มีการทำประกันสุขภาพให้แก่พนักงาน โดยบริษัทบันทึกต้นทุนของการประกันสุขภาพในงวดที่เกิดขึ้น รวมถึงประมาณค่าใช้จ่ายที่ดีที่สุดที่จะเกิดขึ้นแต่ยังไม่ได้รายงานในการคำนวณของประกันสุขภาพค้างจ่าย (IBNR) บริษัท Shakespeare ได้ดูมาตรฐานการบัญชี (FASB Accounting Standards Codification) ซึ่งให้คำจำกัดความของคำว่า IBNR คือความเสียหายที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่ได้มีการรายงานให้บริษัทประกันภัยทราบ ในการสำรองค่าสินไหมทดแทนค่าจ้าง จะต้องจัดสรรเงินสำรองสำหรับความเสียหายที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่ได้มีการรายงานไว้ด้วย

ประกันสุขภาพค้างจ่าย นอกจากนี้บริษัทยังคำนวณหนี้สินโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญด้านคณิตศาสตร์ประกันภัย การตั้งสมมติฐาน และการสังเกตการณ์จากการเบิกค่าใช้จ่ายที่ผ่านมาในอดีต บริษัทมีการควบคุม ติดตามความเหมาะสมของสมมติฐานอย่างต่อเนื่องและวิธีการที่ใช้ในการประมาณการหนี้สิน (IBNR) ในแต่ละรอบเวลารายงาน มีการเปิดเผยโยบายการบัญชีที่สำคัญเกี่ยวกับวิธีการในประมาณการหนี้สิน ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัทมีประวัติการประมาณการหนี้สิน(IBNR)ที่แม่นยำตรงกับการเคลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งการ เคลมจะเกิดขึ้นภายใน 2 เดือนหลังจากที่พนักงานได้เข้ารับการรักษาพยาบาล จากวิธีขั้นต้น บริษัทประมาณการหนี้สิน IBNR ไว้ $1.25 ล้าน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 โดยวันที่ 18 มีนาคม 2555 บริษัทพบว่ามีการเคลมไปแล้ว $0.75 ล้าน ซึ่งเกิดขึ้นก่อนวันที่ 31 ธันวาคม 2554

คำถามข้อ 1. ข้อมูลเกี่ยวกับการเบิกจริงที่เกิดขึ้นภายในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งได้รับมาหลังจากวันที่ในงบการเงินควรนำมาพิจารณาในการประมาณการหรือไม่ หากนำมาพิจารณาผลกระทบจากการปรับปรุงประมาณการต้องรับรู้หรือเปิดเผยในงบการเงินอย่างไร ตอบ นำมาพิจารณาปรับปรุงประมาณการประกันสุขภาพค้างจ่าย ซึ่งกิจการได้ประมาณการไว้ 1,250,000 $ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง 750,000 $ ประมาณการสูงไป 500,000 $ ผลกระทบจากการปรับปรุงประมาณการประกันสุขภาพค้างจ่าย 500,000$ ต้องรับรู้ในงบการเงินสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เพราะว่าข้อมูลการเคลมให้ หลักฐานที่แสดงว่าค่าใช้ได้เกิดขึ้นจริงก่อนวันที่ 31 ธันวาคม 2554

การปรับวงเงินกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัท Shakespeare ได้กู้เงินจากธนาคารจำนวน 8 ล้านบาท (วงเงินกู้สูงสุด 10 ล้านบาท ) ครบกำหนดภายใน 3 ปี นับจากวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน โดยดอกเบี้ยค้างจ่ายอยู่ภายใต้วงเงินกู้ของอัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคารในตลาดลอนดอน(LIBOR) (ขั้นต่ำ 3.5%) +7.5% ต่อปี และบริษัทShakespeare ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมในอัตรา 2 % ต่อปีในส่วนที่ไม่ได้ตราไว้

คำถามข้อ 2. จะรับรู้และเปิดเผยการปรับปรุงวงเงินกู้อย่างไร? ณ วันที่ 1 มีนาคม 2555 บริษัทได้ขอปรับวงเงินกู้กับทางธนาคารเสร็จสิ้น เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับการซื้อกิจการคู่แข่ง เงื่อนไขสำหรับวงเงินกู้ใหม่ เป็นดังนี้ • วงเงินกู้สูงสุดเปลี่ยนจาก 10 ล้านบาท  20 ล้านบาท • วงเงินกู้สามารถต่ออายุเงินกู้ได้จาก 3 ปี  6 ปี นับจากวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน • อัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคารในตลาดลอนดอน ลดลงจาก +7.5%  +3% • ค่าธรรมเนียมลดลงจาก 2%  0.5% คำถามข้อ 2. จะรับรู้และเปิดเผยการปรับปรุงวงเงินกู้อย่างไร? ตอบ ไม่รับรู้เป็นรายการในงบการเงิน แต่ต้องเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เนื่องจากการปรับปรุงวงเงินกู้เกิดขึ้นในวันที่ 1 มีนาคม 2555 ซึ่งไม่กระทบถึงข้อมูลในงบการเงินปี 2554

การควบรวมกิจการ บริษัท Shakespeare ใช้เงินที่กู้มาเพิ่ม 10 ล้านบาทในวันที่ 10 มีนาคม 2555 เพื่อซื้อบริษัท Hamlet ซึ่งเป็นบริษัทคู่แข่ง จากการประเมินค่าขั้นต้นด้วยหลักความระมัดระวัง(ประเมินก่อนวันสิ้นงวด ปี 2554) บริษัทได้ปันส่วนค่าใช้จ่าย 10 ล้านบาทโดยแบ่งเป็น สินทรัพย์หมุนเวียน 2 ล้านบาท และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 8 ล้านบาทโดยที่สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนแบ่งเป็น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่มีตัวตน 5 ล้านบาท สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ไม่มีตัวตน 2 ล้านบาท และค่าความนิยมอีก 1 ล้านบาท บริษัท Hamlet มีรายได้ 3.2 ล้านบาทและกำไรก่อนหักภาษี ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจำหน่าย (EBITDA) 1.1 ล้านบาท ซึ่งการปันส่วนนี้ยังไม่เสร็จสมบูรณ์และคาดว่าจะเกิดขึ้นภายหลังวันอนุมัติงบการเงิน

การควบรวมกิจการ วันที่ 18 มีนาคม 2555 บริษัท Shakespeare ได้ข้อมูลที่ระบุถึงการประเมินค่าใช้จ่ายที่จะเกิดจากการควบรวมกิจการ สินทรัพย์หมุนเวียน 2 ล้านบาท สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 8 ล้านบาท ค่าใช้จ่าย 10 ล้านบาท สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่มีตัวตน 5 ล้านบาท สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ไม่มีตัวตน 2 ล้านบาท ค่าความนิยมอีก 1 ล้านบาท คำถามข้อ 3. บริษัทจะรับรู้ และเปิดเผยรายการเกี่ยวกับการควบรวมกิจการอย่างไร? ตอบ ไม่รับรู้เป็นรายการในงบการเงิน แต่ต้องมีการเปิดเผย ว่ามีการควบรวมกิจการ ตามที่มาตรฐานการบัญชีฉบับที่10 กล่าวว่า การรวมธุรกิจที่สำคัญภายหลังรอบระยะเวลารายงาน (มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง การรวมธุรกิจ (เมื่อมีการประกาศใช้) กำหนดให้กิจการต้อง เปิดเผยข้อมูลเป็นการเฉพาะในกรณีดังกล่าว) หรือการจำหน่ายบริษัทย่อยที่สำคัญ

คำถามข้อ 4. บริษัทควรจะเปิดเผยข้อมูลอย่างไร เกี่ยวกับวันที่ สำหรับเหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน? ตอบ ถ้าบริษัทไม่ได้อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ อ้างอิงจาก ASC 855-10-25-2 ให้ประเมินจนถึงวันที่ที่พบข้อมูลเหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ในที่นี้ คือวันที่ 18 มีนาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 18 มีนาคม 2555 20 มีนาคม 2555 ถ้าบริษัทอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ อ้างอิงจาก ASC 855-10-25-2-1A ให้ประเมินจนถึงวันที่ได้รับอนุมัติให้เผยแพร่งบการเงิน ในที่นี้คือ วันที่ 20 มีนาคม 2555 18 มีนาคม 2555 20 มีนาคม 2555 31 ธันวาคม 2554

คำถามข้อ 5. ถ้าบริษัทวางแผนจะนำ IFRS มาใช้ในปีที่จะมาถึง บริษัทจะปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับไหนเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบการเงินแต่ก่อนวันที่ได้รับการอนุมัติให้ออกงบการเงิน? แล้วมาตรฐานฉบับนั้นกล่าวถึงแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการรับรู้ การวัดมูลค่า และการเปิดเผยอย่างไร? ตอบ IAS 10 (เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน) กล่าวว่า “เหตุการณ์หลังวันที่ในงบการเงินจะถูกประเมินค่าตั้งแต่วันสิ้นรอบเวลารายงาน จนถึงวันที่งบการเงินถูกอนุมัติเพื่อเผยแพร่ ดังนั้น หากบริษัท จะใช้ IFRS ในเหตุการณ์หลังวันที่ในงบการเงิน ควรจะมีการประเมินค่าตั้งแต่วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน(31ธันวาคม2554) จนถึงวันที่มีการอนุมัติงบการเงิน คือวันที่ 20 มีนาคม 2555” กิจการควรปรับปรุงงบการเงิน ถ้าเหตุการณ์หลังวันที่ในงบการเงินเกิดขึ้น และมีหลักฐานว่าเหตุการณ์เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชี กิจการไม่ต้องปรับปรุงแต่ต้องเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ถ้าหากเหตุการณ์หลังวันที่ในงบการเงินเป็นเหตุการณ์ไม่ได้เกิดขึ้นรอบระยะเวลาบัญชี ไม่ต้องปรับปรุงแต่ต้องเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

รายชื่อสมาชิก นางสาวมินตรา พิมพ์โพธิ์ 561510216 นางสาวรติมา นวเลิศเมธี 561510220 นางสาวรักษิณา บุญสูง 561510222 นางสาวลลิตา สมสมัย 561510225 นางสาวลิปิการ์ เศรณียานนท์ 561510226 นายสมัชญ์ ปัญจรงคะ 561510266