บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ระบบที่รวบรวมข้อมูลทางการบัญชี จาก การบันทึกข้อมูล การประมวลผล นำมาจัดทำสารสนเทศทางการบัญชี
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบ บุคลากร ข้อมูลทางบัญชี
Financial Information บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี การจัดทำสารสนเทศทางการบัญชี Economic Data Input Data Collection Data Maintenance Information Generation Processing Financial Information Output (ที่มา: Accounting Information Systems Fourth Edition, Wilkinson, Cerullo, Raval, Wong-On-Wing)
วงจรรายได้ : ขายสินค้า ใบสั่งซื้อของลูกค้า ใบกำกับสินค้า/ใบกำกับภาษี บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 1.รวบรวมเอกสารขั้นต้นที่ใช้เป็นหลักฐานประกอบการบันทึกรายการค้า วงจรรายได้ : ขายสินค้า ใบสั่งซื้อของลูกค้า ใบกำกับสินค้า/ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี
วงจรค่าใช้จ่าย : ซื้อสินค้า ใบขอซื้อ,ใบสั่งซื้อ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 1.รวบรวมเอกสารขั้นต้นที่ใช้เป็นหลักฐานประกอบการบันทึกรายการค้า วงจรค่าใช้จ่าย : ซื้อสินค้า ใบขอซื้อ,ใบสั่งซื้อ ใบกำกับสินค้า/ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี
วงจรค่าใช้จ่าย : จ่ายค่าใช้จ่าย ใบกำกับสินค้า/ใบกำกับภาษี บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 1.รวบรวมเอกสารขั้นต้นที่ใช้เป็นหลักฐานประกอบการบันทึกรายการค้า ใบกำกับสินค้า/ ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงิน/ วงจรค่าใช้จ่าย : จ่ายค่าใช้จ่าย ใบกำกับสินค้า/ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี
วงจรรายได้ : ขายสินค้า บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 2.บันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน 2.1 วิเคราะห์รายการค้า วงจรรายได้ : ขายสินค้า Dr. เงินฝากธนาคาร/ลูกหนี้ Cr. ขายสินค้า ภาษีขาย
วงจรค่าใช้จ่าย : ซื้อสินค้า ภาษีซื้อ เจ้าหนี้ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 2.บันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน 2.1 วิเคราะห์รายการค้า วงจรค่าใช้จ่าย : ซื้อสินค้า Dr.ซื้อสินค้า/ค่าใช้จ่าย ภาษีซื้อ Cr.เงินฝากธนาคาร/ เจ้าหนี้
โรงงานผลิตอาหารแปรรูป, ผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิค โรงงานผลิตเสื้อผ้า ฯลฯ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 2.บันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน 2.2 จัดทำผังบัญชี ตามลักษณะรายการค้าของธุรกิจ ผลิตสินค้า โรงงานผลิตอาหารแปรรูป, ผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิค โรงงานผลิตเสื้อผ้า ฯลฯ
ภัตตาคาร, โรงแรม, บริการเสริมความงาม สถาบันการเงิน ฯลฯ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 2.บันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน 2.2 จัดทำผังบัญชี ตามลักษณะรายการค้าของธุรกิจ ให้บริการ โรงภาพยนตร์, ภัตตาคาร, โรงแรม, บริการเสริมความงาม สถาบันการเงิน ฯลฯ
ซื้อขายสินค้าสำเร็จรูป ตัวแทนจัดจำหน่าย, การขายตรง บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 2.บันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน 2.2 จัดทำผังบัญชี ตามลักษณะรายการค้าของธุรกิจ ซื้อขายสินค้าสำเร็จรูป ตัวแทนจัดจำหน่าย, การขายตรง การค้าส่ง,การค้าปลีก ฯลฯ
ซื้อ,ขาย,รับ,จ่าย,ส่งคืน,รับคืน กิจการขนาดกลาง-ใหญ่ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 2.บันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน 2.3 บันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน สมุดรายวันทั่วไป กิจการขนาดเล็ก สมุดรายวันเฉพาะ ซื้อ,ขาย,รับ,จ่าย,ส่งคืน,รับคืน กิจการขนาดกลาง-ใหญ่
แยกประเภททั่วไป-- บัญชีคุมยอด (General Ledger) บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 3.ผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท แยกประเภททั่วไป-- บัญชีคุมยอด (General Ledger) แยกประเภทย่อย-- บัญชีย่อย (Subsidiary Ledger) เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ สินทรัพย์ถาวร เจ้าหนี้ วัตถุดิบ สินค้า
งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ หมายเหตุประกอบงบการเงิน บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 4. จัดทำงบทดลอง,กระดาษทำการ 5. จัดทำรายงานการเงินและรายงานเพื่อการบริหาร งบแสดงฐานะการเงิน งบกระแสเงินสด งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
รายงานเพื่อการบริหาร ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการใช้งาน บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 5. จัดทำรายงานการเงินและรายงานเพื่อการบริหาร รายงานเพื่อการบริหาร ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการใช้งาน แยกตามส่วนงาน เช่น ตามสายผลิตภัณฑ์, ตามสาขา งบกำไรขาดทุนแยกตามส่วนงาน รายงานการขายรายไตรมาสเปรียบเทียบ รายงานค่าใช้จ่ายในการขายรายไตรมาสเปรียบเทียบ
ความแตกต่างของการประมวลผลด้วยมือและคอมพิวเตอร์ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ความแตกต่างของการประมวลผลด้วยมือและคอมพิวเตอร์ 1.แหล่งข้อมูล Manual ใช้เอกสารเบื้องต้น (Source document) เช่น ใบเบิกวัตถุดิบ, ใบกำกับสินค้า,ใบเสร็จรับเงิน Computerized ใช้เอกสารเบื้องต้น ไม่ใช้เอกสารเบื้องต้น (Paperless) เช่น สแกนเนอร์ บาร์โค้ด, จอสัมผัส, เสียง ฯลฯ
ความแตกต่างของการประมวลผลด้วยมือและคอมพิวเตอร์ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ความแตกต่างของการประมวลผลด้วยมือและคอมพิวเตอร์ 2. การบันทึกข้อมูล Manual สมุดรายวัน กระดาษ Computerized สมุดรายวัน กระดาษ แฟ้มข้อมูล
ความแตกต่างของการประมวลผลด้วยมือและคอมพิวเตอร์ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ความแตกต่างของการประมวลผลด้วยมือและคอมพิวเตอร์ 3. การผ่านรายการ Manual ผ่านรายการไปบันทึก บัญชีที่บัญชีแยกประเภท ทั่วไป,ย่อยที่เกี่ยวข้อง คำนวณปรับปรุงเพิ่ม/ลด ในบัญชีโดยเครื่องคำนวณ Computerized ผ่านรายการไปบันทึก บัญชีที่แฟ้มข้อมูลบัญชีแยก ประเภททั่วไป,ย่อยที่ เกี่ยวข้องโดยสั่งให้ โปรแกรมประมวลผล
ความแตกต่างของการประมวลผลด้วยมือและคอมพิวเตอร์ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ความแตกต่างของการประมวลผลด้วยมือและคอมพิวเตอร์ 4. การจัดทำงบทดลอง 5. การจัดทำรายงาน Manual กระดาษ พิมพ์รายงานงบทดลอง พิมพ์รายงานการเงิน พิมพ์รายงานเพื่อการบริหาร Computerized กระดาษ,ไม่ใช้กระดาษ สั่งโปรแกรมแสดงรายงานทาง จอภาพ,แฟ้มข้อมูล สั่งโปรแกรมพิมพ์รายงาน Accounting Information System 1-19
ความแตกต่างของการประมวลผลด้วยมือและคอมพิวเตอร์ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ความแตกต่างของการประมวลผลด้วยมือและคอมพิวเตอร์ 6. สถานที่จัดเก็บข้อมูล Manual กระดาษ แฟ้มเอกสาร สมุดบัญชี Computerized กระดาษ แฟ้มเอกสาร แฟ้มข้อมูล ฐานข้อมูล Accounting Information System 1-20
ประโยชน์จากสารสนเทศทางการบัญชี บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ประโยชน์จากสารสนเทศทางการบัญชี 1.ข้อมูลเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานประจำวัน รายงานการขายประจำวันแยกตามสายผลิตภัณฑ์ รายงานสินค้าคงเหลือ/วัตถุดิบแยกตามคลัง รายงานการรับเงินประจำวัน รายงานการจ่ายเงินประจำวัน รายงานวิเคราะห์อายุลูกหนี้ที่เกินกำหนดชำระ Accounting Information System 1-21
ประโยชน์จากสารสนเทศทางการบัญชี บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ประโยชน์จากสารสนเทศทางการบัญชี 2. ข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจวางแผนและควบคุมดำเนินงาน รายงานต้นทุนการผลิตแยกตามสายผลิตภัณฑ์,สาขา รายงานจำนวนและมูลค่าสินทรัพย์ถาวรแยกตามฝ่าย รายงานยอดขายรายไตรมาสแยกตามผู้จำหน่าย,พนง. รายงานค่าใช้จ่ายประจำเดือนแยกตามฝ่าย ฯลฯ ขึ้นอยู่กับความต้องการใช้งานของผู้บริหาร
ประโยชน์จากสารสนเทศทางการบัญชี บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ประโยชน์จากสารสนเทศทางการบัญชี 3. ข้อมูลขั้นพื้นฐานตามกฎหมายกำหนดแก่ผู้ใช้ภายนอก รายงานการเงินตามที่มาตรฐานการบัญชีกำหนดให้จัดทำ รายงานการเงินตามที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนดให้จัดทำ รายงานการเงินตามที่กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์ กำหนดให้นิติบุคคลจัดทำ
ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดทำสารสนเทศทางการบัญชี บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดทำสารสนเทศทางการบัญชี กลุ่มผู้ตรวจสอบ และประเมินผล กลุ่มผู้จัดทำ กลุ่มผู้พัฒนาระบบ นักบัญชี ที่ปรึกษา ผู้บริหาร ผู้ตรวจสอบ ภายใน ผู้สอบบัญชี นักบัญชี ผู้ออกแบบระบบ ผู้พัฒนาระบบ
ค้นหาข้อมูลผ่านเว็บไซค์ บทบาทของนักบัญชีต่อระบบสารสนเทศทางการบัญชี ผู้จัดการฝ่ายบัญชี ผู้เชี่ยวชาญทางด้านภาษี นักบัญชีบริหาร ผู้พัฒนาระบบ พนักงานบัญชี ระบบสารสนเทศ ทางการบัญชี สอบถามข้อมูลจากระบบ ค้นหาข้อมูลผ่านเว็บไซค์ ของกิจการ รายงาน และเอกสาร ผู้ใช้ข้อมูล ภายใน ภายนอก Using Developing Evaluating (ที่มา: Accounting Information Systems Fourth Edition, Wilkinson, Cerullo, Raval, Wong-On-Wing)
Customers suppliers, etc. ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศในองค์กร Transaction data Nontransaction data MIS AIS Revenue cycle Expenditure Human resource management Conversion General ledger and financial reporting MIS Maketing information system Human resources Production Finance Customers suppliers, etc. Stockholders, SET, etc. Decision support systems Expert Executive information Managers (ที่มา: Accounting Information Systems Fourth Edition, Wilkinson, Cerullo, Raval, Wong-On-Wing)