แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
Advertisements

1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
ผลการดำเนินงาน PM 18 การบริหารจัดการโครงการ คณะกรรมการสุขศึกษาและ ประชาสัมพันธ์ ปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 9 กันยายน 2558.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
ฝ่ายอำนวยการ งานธุรการและงาน สารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานการเจ้าหน้าที่ งานสวัสดิการ งานนโยบายและที่รับ มอบหมาย ยิ้มงาม ถามไถ่ เต็มใจบริการ.
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
โย โดย นางจารินี คูณทวีพันธุ์ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
การประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
แผนการผลิตรายบุคคล Individual Farm Production Plan (IFPP)
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
สถานการณ์และผลการดำเนินงาน
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
ระบบจับบัตรคิวออนไลน์ Smart Hospital 4.0 โรงพยาบาลชัยนาทนเรนทร
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 สำนักโภชนาการ โดย แพทย์หญิงนภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ วันที่ 6 มกราคม 2559

เริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน ร้อยละ10 เด็กนักเรียนมีภาวะ เริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน ร้อยละ10

สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน จากระบบ HDC ปี 2558 ร้อยละ สิงห์บุรี เป้าหมายปี 58 ไม่เกินร้อยละ 10 ชัยนาท สุพรรณบุรี ลำพูน สมุทรปราการ พิษณุโลก ชัยภูมิ ขอนแก่น เลย ยโสธร เขตสุขภาพ

คำนิยาม  เด็กนักเรียน : เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 5 ปี จนถึง 14 ปี (โดยเริ่มนับตั้งแต่อายุ 5 ปี 1 วัน – 14 ปี 11 เดือน 29 วัน) ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน : น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง  + 2 S.D. (โดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของกรมอนามัย ปี 2542)  เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง : เด็กที่มีภาวะอ้วน  + 3 S.D. โรงเรียนระดับประถมศึกษาทุกสังกัด : โรงเรียนระดับประถมศึกษา หรือโรงเรียนระดับประถมศึกษาขยายโอกาส ทุกสังกัด

สูตรการคำนวณ ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน : จำนวนเด็กอายุ 5-14 ปี ที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน x 100 จำนวนเด็กอายุ 5-14 ปี ที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด

มาตรการ 1. ระบบข้อมูล 3. การคัดกรองแก้ไข 4. การบริหารจัดการ 2. การส่งเสริมป้องกัน 3. การคัดกรองแก้ไข 4. การบริหารจัดการ 1.1 ระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม 1.2 ระบบรายงาน HDC - ข้อมูลนน./สส.นักเรียนทุกรร.ภาคเรียนที่ 1 และ 2 1.3 ข้อมูลจำนวนรร. และรายชื่อ รร.ที่มี ปัญหาภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน  ร้อยละ 10 1.4 ข้อมูลนร.ที่มีภาวะ อ้วน และได้รับการส่ง ต่อ service plan 2.1 การจัดการสวล.ในรร.ด้านโภชนาการ และการออกกำลังกาย 3.1 พัฒนาระบบการคัดกรองสุขภาพ การจัดการ และแก้ไขปัญหา การคัดกรอง เด็กที่มีภาวะเริ่ม อ้วน และอ้วน - อ้วนไม่มีโรค : จัดการนน. - อ้วนมีโรค : ส่งต่อ service plan 4.1 การบริหารจัดการแบบบูรณาการ : รร. (ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้) และผ่านระบบ DHS 4.2 สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 4.3 พัฒนาศักยภาพและทักษะภาคีเครือข่าย - นักจัดการนน.เด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher)

บทบาทของสำนักโภชนาการ สื่อ นวัตกรรม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ * แนวทางการคัดกรอง ส่งต่อ และแก้ปัญหาเด็กอ้วน กลุ่มเสี่ยง ในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และคลินิก DPAC * คู่มือการจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน * แนวทางการจัดค่ายลดน้ำหนักกินพอดีไม่มีอ้วน ฯลฯ การประชุมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเข้มแข็ง Smart Kids Coacher 4 ภาค การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ * การจัดการปัญหาเด็กอ้วนแบบองค์รวม * การคัดกรอง ส่งต่อ และแก้ปัญหาเด็กอ้วน กลุ่มเสี่ยง ในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และคลินิก DPAC

บทบาทศูนย์อนามัย 1 สนับสนุน จว.จัดตั้งคกก.และจัดทำแผนลดปัญหาภาวะอ้วนในเด็กนักเรียนระดับเขต ระดับจว. โดย PM จว. 2 สนับสนุน จว.มีฐานข้อมูลจำนวน และรายชื่อรร.ในพื้นที่ที่มีปัญหาภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน  ร้อยละ 10 3 3.1 สนับสนุน จว.มีการชั่งนน.วัดสส. เพื่อเปรียบเทียบภาวะโภชนาการและคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยง 3.2 รายงานรอบที่ 1 นำเข้าข้อมูล เดือน ต.ค.,พ.ย., ธ.ค. ตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 1 ม.ค. 3.3 รายงานรอบที่ 2 นำเข้าข้อมูล เดือน พ.ค., มิ.ย., ก.ค. ตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 1 ส.ค. 4 สนับสนุน จว. ดำเนินการดังนี้ 4.1 ถ่ายทอดแนวทางการคัดกรอง ส่งต่อ เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง ให้รพช. สสอ. รพสต. และรร. 4.2 คัดกรองโดยการตรวจ obesity sign 1) รอบคอดำ 2) นั่งหลับ 3) นอนกรน 4) ประวัติเจ็บป่วยครอบครัว 4.3 รายงานตามระบบ

บทบาทศูนย์อนามัย (ต่อ) 5 สนับสนุนให้ รร.มีการนำแผนการเรียนรู้ เรื่องการจัดการน้ำหนักด้านโภชนาการและ การเคลื่อนไหวร่างกายใช้ในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ 6 สนับสนุน จว.มีรายงานจำนวนนักจัดการน้ำหนักในเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher) (ครูข.) และแกนนำ นร. ด้านการจัดการน้ำหนักในเด็กวัยเรียน (Smart Kids Leader) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและทักษะ

รอบการประเมิน / คะแนนการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ระดับชั้นความสำเร็จ รอบการประเมิน / คะแนนการประเมิน 6 เดือนแรก 6 เดือนหลัง คะแนน ขั้นตอนที่ 1 ศูนย์พัฒนาศักยภาพ รพช. รพ.สต. และโรงเรียน ให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลคัดกรอง และจัดการน้ำหนักเด็กได้   2 ขั้นตอนที่ 2 70 % ของนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วนได้รับการจัดการนน.ตามแผน Smart Kids Coacher และส่งต่อ service plan หรือคลินิก DPAC 3 ขั้นตอนที่ 3 เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 12.50 ขั้นตอนที่ 4 เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 11.25 1 ขั้นตอนที่ 5 เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 10 คะแนนรวม 10

ตัวชี้วัดอื่นๆ การส่งเสริมเด็กไทยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน เป้าหมาย : เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 การจัดทำข้อเสนอนโยบาย “ลดหวาน มัน เค็ม เติมเต็มผักผลไม้” การขับเคลื่อนองค์กรต้นแบบไร้พุง เป้ามาย: จำนวนองค์กรต้นแบบไร้พุงแห่งใหม่อย่างน้อยจังหวัดละ 2 แห่ง

ขอบคุณ และสวัสดีค่ะ