การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2 ลำดับจังหวัดกล้องแผนงาน 15- มิ. ย.30- มิ. ย. ร้อยละเพิ่มขึ้น 1 นครสวรรค์ *** 2 8,6005,8067, , อุบลราชธานี *** 3 12,9004,2295, ,
Advertisements

สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 12 กันยายน 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
การดำเนินงานลดขั้นตอนและระยะเวลาให้บริการ (ตัวชี้วัดที่ 9)
แผนงานสำรวจรังวัดแปลงเกษตรกรรมและปิดพื้นที่ ปีงบประมาณ 2557 ภาค / จังหวัด ช่าง สำรวจ จว. จำนวน กล้อง จว. แผนปิดอำเภอ ปี 57 ( ไร่ ) แผนรังวัด เกษตร ( ไร่
Good Morning.
สรุปผลการปิดอำเภอ เป้าหมาย ปี 2555 ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
รายงานสถานการณ์อุทกภัย กรมทางหลวงชนบท. จำนวนสายทาง การสัญจร (สายทาง) ภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ สถานการณ์น้ำท่วมปัจจุบัน.
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
สถานการณ์โรคไข้ชิคุนกุนยา ประเทศไทย (ข้อมูล ณ 25 พฤษภาคม 2552)
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
สรุปการดำเนินรายการวิทยุ “ หมอทาง ” ของหน่วยงานส่วนภูมิภาค ณ เดือนเมษายน 2555.
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 7/2556 วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา – น. ณ ห้องประชุม.
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญา เด็กนักเรียนไทย ปี 2554
การดำเนินการหลังการประกาศ การชะลอการเพาะปลูกข้าวนาปีใน พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2558/59 กรมส่งเสริม การเกษตร.
โดย ศรีสุดา เตชะสาน ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมพืชน้ำมัน และพืชตระกูลถั่ว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้า เกษตร.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
การประชุมปฏิบัติการ ผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
อัตราพื้นที่ใช้สอยในแต่ละหน่วยงาน ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ส่วนสื่อสารองค์กร ปรับปรุงเมื่อ 10 กันยายน 2561
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
WAR ROOM โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 34
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
Website กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ hia.anamai.moph.go.th QR code
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ผังพื้นที่สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1-10
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
ข้อมูลนำเสนอโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2562
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ที่มา/ความสำคัญของปัญหา นโยบายประเทศ /นโยบายรัฐบาล นโยบายกรมอนามัย 1. การบริหารหรือวิธีการจัดการที่จะให้ได้มาซึ่งงานหรือบริการที่มีคุณภาพ (Total Quality Management : TQM) 2. การประยุกต์เกณฑ์การดำเนินงานเพื่อการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) 3. หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ของการบริการจัดการภาครัฐ 4. นโยบายการพัฒนาและรับรองคุณภาพ (HA) 5. มาตรฐานและพัฒนาระบบมาตรฐานด้านการจัดการและสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ (P.S.O) - แนวทางการพัฒนาและขับเคลื่อนกระบวนการบริหารด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม แก่ประชาชน ตามแนวคิดของนายแพทย์อมร นนทสุต “การขับเคลื่อนวัตกรรม โดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์” 1. แผนที่ยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (SLM) 2. มาตรฐานกระบวนงานพัฒนามาตรฐานการบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (Environmental Health Accredit : EHA)

เป้าหมาย วัตถุประสงค์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณภาพ ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 1. สนับสนุน/รองรับประเด็นยุทธศาสตร์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย 2. ขับเคลื่อน/ผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำกระบวนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ไปปรับใช้ในท้องถิ่น

เกณฑ์การวัดคุณภาพด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำแนกเป็น 2 รูปแบบ คือ 1. วัดคุณภาพโดยองค์รวม ตามเกณฑ์คุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ 7 หมวด ประกอบด้วย หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ

2. วัดคุณภาพจากมาตรฐานกระบวนงานพัฒนามาตรฐานการบริการ ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 14 กระบวนงาน ประกอบด้วย 1.การจัดการมูลฝอย (ทั่วไป,ติดเชื้อ,อันตราย) 2.การจัดการสิ่งปฏิกูล 3.การเตรียมความพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉิน/สาธารณภัย 4.การจัดการข้อร้องเรียนและเหตุรำคาญ 5.การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการ 6.การเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 7.กระบวนงานสื่อสารสาธารณะ 8.การออกข้อกำหนดของท้องถิ่น 9.การออกคำสั่งทางปกครอง 10.การออกใบอนุญาต/การออกหนังสือรับรองการแจ้ง 11.การเปรียบเทียบปรับและการดำเนินคดี 12.การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 13.การรับรองคุณภาพสถานประกอบกิจการ 14.การพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค

พัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การดำเนินงาน พัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 2553-2555 ที่ผ่านมา

พื้นที่ดำเนินงานพัฒนาระบบบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อม เชียงราย พื้นที่ดำเนินงานพัฒนาระบบบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อม แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย บึงกาฬ อุตรดิตถ์ นครพนม อุดรธานี สกลนคร สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู พิษณุโลก กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ขอนแก่น กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท อุบลราชธานี ลพบุรี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม นนทบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง เหตุรำคาญ สุขาภิบาลอาหาร พัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค HIA กฎหมาย 2 เรื่อง 3 เรื่อง 4 เรื่อง 5 เรื่อง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สงขลา ปัตตานี สตูล ยะลา นราธิวาส

พื้นที่ดำเนินงานการจัดการข้อร้องเรียน และเหตุรำคาญ เชียงราย พื้นที่ดำเนินงานการจัดการข้อร้องเรียน และเหตุรำคาญ แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย อุตรดิตถ์ อุดรธานี นครพนม สกลนคร สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิจิตร ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี อุบลราชธานี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม สระแก้ว นนทบุรี ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

พื้นที่ดำเนินงานระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร เชียงราย พื้นที่ดำเนินงานระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย อุตรดิตถ์ อุดรธานี นครพนม สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู สกลนคร พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิจิตร ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี อุบลราชธานี ชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ สุพรรณบุรี อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม สระแก้ว นนทบุรี ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

พื้นที่ดำเนินงานการพัฒนาระบบ การจัดบริการน้ำบริโภค เชียงราย พื้นที่ดำเนินงานการพัฒนาระบบ การจัดบริการน้ำบริโภค แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย อุตรดิตถ์ อุดรธานี นครพนม สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู สกลนคร พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิจิตร ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี อุบลราชธานี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม สระแก้ว นนทบุรี ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

พื้นที่ดำเนินงานการประเมินผล กระทบต่อสุขภาพในระดับท้องถิ่น (HIA) เชียงราย พื้นที่ดำเนินงานการประเมินผล กระทบต่อสุขภาพในระดับท้องถิ่น (HIA) แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย อุตรดิตถ์ นครพนม สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู อุดรธานี สกลนคร พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิจิตร ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี อุบลราชธานี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม นนทบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

พื้นที่ดำเนินงานการตามกระบวนงาน ทางกฎหมาย (การใช้กฎหมายสาธารณสุข) เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย บึงกาฬ อุตรดิตถ์ นครพนม อุดรธานี สกลนคร สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู พิษณุโลก กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ขอนแก่น กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี อุบลราชธานี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม นนทบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

แนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 2556-2559 1. ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ในภาพรวม (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม) - พัฒนาระบบประเมินรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ขับเคลื่อนการมีต้นแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณภาพด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม (Triple A : Activities, Accredit, Achievement) 2.การลงนามข้อตกลงความร่วมมือ (Sign MOU) ระหว่างกรมอนามัยและกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม) 3. การพัฒนาคู่มือ และเกณฑ์การประเมินรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัย สิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม)

ต่อ 4. การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่กรมอนามัย และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม) 5. การพัฒนาสื่อความรู้ทางวิชาการ และสื่อประชาสัมพันธ์ ประเภทเอกสาร ประชาสัมพันธ์ และการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Website เป็นต้น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม) 6. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การพัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม) 7. พัฒนาระบบฐานข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

ต่อ 8. ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจากมาตรฐานกระบวนงานพัฒนามาตรฐานการบริการ ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์ปฏิบัติการ กรมอนามัย) 9. ทบทวนระบบประเมินการรับรองฯ ในภาพรวมและตามมาตรฐานกระบวนงานฯ (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผล กระทบต่อสุขภาพ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข และศูนย์ปฏิบัติการ กรมอนามัย) 10. ขยายผลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบ ต่อสุขภาพ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข และศูนย์ปฏิบัติการ กรมอนามัย)

ต่อ 11. ประเมินรับรององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 12. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาระบบคุณภาพบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาล อาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข และศูนย์ปฏิบัติการ กรมอนามัย) 13. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (คณะทำงานฯ)

ผลที่จะได้รับจากการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีระบบบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ ประชาชนได้รับการคุ้มครองสิทธิ จากการบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ติดต่อผู้รับผิดชอบ พัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาพรวม (EHA) คุณสุนทรีย์ รักษามั่นคง โทร 02-5904317 กระบวนการที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคุณภาพการจัดการสุขาภิบาลอาหาร คุณชัยเลิศ กิ่งแก้วเจริญชัย โทร 02-5904184 กระบวนการพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค คุณวิโรจน์ วัชระเกียรติศักดิ์ โทร 02-5904188 กระบวนการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ คุณสุกานดา พัดหาดี โทร 02-5904256 กระบวนการออกข้อกำหนดท้องถิ่น และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย คุณวิภา รุจิจนากุล โทร 02-5904256 ผู้รับผิดชอบการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. (ผู้แทนกลุ่มบูรณาการงานอนามัยสิ่งแวดล้อม) คุณพาสนา ชมกลิ่น โทร 02-5904184 คุณนวรัตน์ อภิชัยนันท์ โทร 02-5904319