การวางรูปแบบของสถาบันนวัตกรรมฯ ยุคประเทศไทย 4.0

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การสร้างตัวชี้วัด แผนปฏิบัติงาน
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
นวัตกรรมสังคม ก้าวสู่ Thailand 4.0.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวางรูปแบบของสถาบันนวัตกรรมฯ ยุคประเทศไทย 4.0 น.พ.อมร นนทสุต

แต่ละกิจกรรม แสดง 3-5 งานสำคัญ จะวางรูปแบบสถาบันนวัตกรรมฯอย่างไร ? กลยุทธ แต่ละกลยุทธ แสดง 3-5 กิจกรรมสำคัญ แต่ละกิจกรรม แสดง 3-5 งานสำคัญ

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) พ.ศ. 2555 ประชาชน ภาคี Coordinating ? Budgeting ? กระบวนการ Operating ? Reporting ? Programming ? พื้นฐาน Staffing ? Organizing ? 3

จะวางรูปแบบสถาบันนวัตกรรมฯอย่างไร ?

จัดรูปองค์กรสถาบันนวัตกรรมฯ ด้วยเงื่อนไขต่อไปนี้ สามารถแสวงหาและทำงานร่วมกับหน่วยงานนอกกระทรวงสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการรับรองโดยกฎหมาย มีอิสระภาพในการตัดสินใจวางแผน และปฏิบัติการที่เกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการเพื่อสร้างสุขภาพและป้องกันโรคของกลุ่มเป้าหมาย มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่สามารถแสวงหาการสนับสนุนด้านทรัพยากรและวิชาการจากองค์กรที่สนับสนุนการทำงานของภาคประชาชนทั้งในและต่างประเทศได้โดยตรง มีความร่วมมือใกล้ชิดกับสถาบันการศึกษา สามารถสร้างและเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนที่เกี่ยวกับการสาธารณสุขมูลฐาน การเกษตร การศึกษา และการพัฒนาอาชีพต่างๆที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ (แสดงกิจกรรมสำคัญ-งาน?)

จะวางรูปแบบสถาบันนวัตกรรมฯอย่างไร ?

โครงการนวัตกรรมสังคม ปรับยุทธศาสตร์การสร้างสุขภาพ โครงการนวัตกรรมสังคม LTC Program

ปฏิรูปโครงการเป็นแบบบูรณาการ บทบาทสนับสนุนของสถาบันนวัตกรรมฯ ปรับบทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่านการจัดการสุขภาพสู่ภาคประชาชน ประกาศค่ากลาง บูรณาการงาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผล ปฏิรูปโครงการเป็นแบบบูรณาการ เปิดงาน บทบาทสนับสนุนของสถาบันนวัตกรรมฯ ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน รพสต อสม/นวัตกรฯ กองทุนฯ (แสดงกิจกรรมสำคัญ-งาน?) โ ค ร ง ก า ร

จะวางรูปแบบสถาบันนวัตกรรมฯอย่างไร ?

สร้างกลไกการประสานงานระหว่างองค์กร สร้างกลไกความเชื่อมโยงกับแผนการพัฒนากลุ่มจังหวัดของรัฐบาล บูรณาการบทบาทกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำความตกลงในระดับส่วนกลางเกี่ยวกับความร่วมมือของ อปท.กับหน่วยงานสาธารณสุขในประเด็นการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ และการสนับสนุนนวัตกรรมสังคม สนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ มอบบทบาทการพัฒนาส่วนสภาวะแวดล้อมของกลุ่มวัยฯให้ อปท. โดยใช้บัญชีค่ากลางสำหรับโครงการสุขภาพฯที่ สสจ. กำหนดชุดเดียวกับ รพสต.และกองทุนฯ วางระบบข้อมูลที่ใช้ร่วมกันได้ระหว่าง อปท. กับ สธ.

จะวางรูปแบบสถาบันนวัตกรรมฯอย่างไร ?

แนวคิดารพัฒนาสุขภาพ ยุค Thailand 4.0 จัดการค่ากลาง และบูรณาการ กำหนดกิจกรรมสำคัญ ปรับโครงการสุขภาพ ปรับบทบาทภาครัฐและประชาชน บทบาทสนับสนุนของสถาบันนวัตกรรมฯ (แสดงกิจกรรมสำคัญ – งาน?)

การประกอบการเพื่อสังคมคืออะไร ? การประกอบการเพื่อสังคมเป็นแนวคิดที่ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม มองหา คิดค้น แนวทางหรือรูปแบบการทำงานใหม่ ที่จะนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น การพัฒนารูปแบบใหม่ๆในการสื่อสาร การเฝ้าระวังและคัดกรอง การดำเนินมาตรการทางสังคม การปรับเปลี่ยนรูปแบบโครงการ ฯลฯ การประกอบการเพื่อสังคมเป็นแนวคิดที่ส่งเสริมให้เกิดความเข้มแข็งของเครือข่ายเพื่อสังคม เป็นกิจการที่สังคมดำเนินการ สามารถเลี้ยงดูตนเองได้ มีทรัพยากรเพียงพอ มีรายได้หมุนเวียนสนับสนุนกิจการ เป็นทางเลือกที่ดีกว่าการรอรับการบริจาคและการสนับสนุน การประกอบการเพื่อสังคมต้องอาศัยความร่วมมือและการขับเคลื่อนพร้อมกันทุกภาคส่วน ผู้บริหารต้องมีวิสัยทัศน์และกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศที่มุ่งไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยเฉพาะการวางเป้าหมายเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

มาตรการวิชาการ/สังคม บทบาทขององค์กรเพื่อพัฒนานวัตกรรมสังคม ในฐานะสื่อกลาง มาตรการวิชาการ/สังคม ความต้องการ

กระบวนการการสร้างนวัตกรรมสังคมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. ภาคีประชารัฐคิดแก้ปัญหา ทำอะไร(Make) ปรับปรุงอย่างไร(Innovate) สร้างสรรค์อะไร(Create) 1.สังคมกำหนด 3. ได้ความคิดใหม่/ คัดเลือก 8. มอบอำนาจ/ ขยายเครือข่าย ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กำหนดกิจกรรมสำคัญ 9. ประชาชนมีบทบาทร่วมกับรัฐ (ประชารัฐ) บทบาท สนับสนุน ของสถาบันนวัตกรรมฯ 4. ปฎิรูปโครงการ (แสดงกิจกรรมสำคัญ – งาน?) จัดการค่ากลางของโครงการ / บูรณาการ จัดสรรความรับผิดชอบของภาครัฐ/ประชาชน 7. ทัศนะ/พฤติกรรมเปลี่ยน 5. ภาคประชาชนสร้างนวัตกรรมสังคมจากค่ากลาง 6. แลกเปลี่ยนเรียนรู้

การสร้างนวัตกรรมสังคม สร้าง “นวัตกรรมรูปแบบ”เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่เป็นระบบ โดยเฉพาะรูปแบบการบริหารจัดการ (เช่น ระบบเขตตรวจราชการ หมอครอบครัว ฯลฯ) “นวัตกรรมกระบวนการ" คือองค์ประกอบสำคัญของการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับพฤติกรรมและความสามารถพึ่งตนเอง กระบวนการของความร่วมมือของประชาชนจะต้องชัดเจน คนทั่วไปต้องสามารถทำความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขได้ (นวัตกรรมเทคโนโลยี)

การจัดการความเสี่ยง : จำแนกและจัดลำดับความสำคัญตามลักษณะกลุ่มเป้าหมายย่อยและพื้นที่เสี่ยง ใช้หลักจัดการความเสี่ยง โดยค้นหากลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ๆมีความเสี่ยงต่างๆกัน เพื่อการใช้ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ ทีมหมอครอบครัวกำหนดเกณฑ์และให้คะแนนสภาวะทางสุขภาพ (ความเสี่ยง) เป็นรายบุคคลเป้าหมาย ทีมท้องถิ่นและภาคประชาชนกำหนดเกณฑ์และให้คะแนนสภาวะแวดล้อมเป็นรายหมู่บ้าน บันทึกรายละเอียดเหตุผลในการให้คะแนนในช่องหมายเหตุด้วย (แสดงกิจกรรมสำคัญ – งาน?)

แนวคิดสำหรับกำหนดกิจกรรมสำคัญและงานบนพื้นฐานความเสี่ยง เน้นลดระดับความเสี่ยงในหมู่บ้านประเภท 1 ลงด้วยมาตรการทางวิชาการสำหรับกลุ่มเป้าหมายในสัดส่วนที่สูงกว่ามาตรการทางสังคม สัดส่วนจะกลับทางกันสำหรับหมู่บ้านประเภท 3 และใกล้เคียงกันสำหรับประเภท 2 ความเข้มของมาตรการทั้งเทคนิค สังคม และนวัตกรรม (สะท้อนด้วยลักษณะงาน) สูงสุดในประเภท 1 ต่ำสุดในประเภท 3 ทีมหมอประจำครอบครัวจัดการงานภาครัฐ ท้องถิ่น/ชุมชน/อสม.จัดการงานภาคประชาชน

สนับสนุนให้ประชาชนคิด ส่งเสริมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การสนับสนุนนวัตกรรมสังคม สนับสนุนให้ประชาชนคิด ส่งเสริมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ สร้างเครือข่าย on-line จัดนิทรรศการ จดหมายข่าว ฯลฯ พิจารณาองค์กรนอกกระทรวงสธ.ด้วย กำหนด KPI สำหรับประชาชนใช้ ความสมดุลระหว่างโอกาส/ความเสี่ยง พิจารณาแหล่งสนับสนุนนอกงบประมาณด้วย

ประเมินระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน รนสช.

ประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแนะนำการพัฒนาองค์ประกอบต่างๆ (แสดงกิจกรรมสำคัญ – งาน?)

กิจกรรมการประเมินแผนสุขภาพตำบล และให้คำแนะนำ *แสดงงานสำคัญ?

กิจกรรมการประเมินระบบสื่อสาร สาระสนเทศและให้คำแนะนำ *แสดงงานสำคัญ?

จะวางรูปแบบสถาบันนวัตกรรมฯอย่างไร ?

Road Mapสำหรับการพัฒนาสาธารณสุข ระดับท้องถิ่น/ชุมชน แผนการสนับสนุนเขตของส่วนกลาง เริ่มวงจร ใหม่ แผนการสนับสนุนนวัตกรรมสังคม แผนการสนับสนุนจังหวัดของเขต แผนการถ่ายโอนความรับผิดชอบให้ท้องถิ่น/ชุมชน แผนการสนับสนุนอำเภอของจังหวัด สธ. ตั้งสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุขระดับอำเภอ (DHS) โครงการวิจัยพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมาย ลักษณะสภาวะแวดล้อม และบทบาทท้องถิ่น/ชุมชน สธ.บูรณาการงานสนับสนุนอำเภอใน-นอกกระทรวงฯ

เรื่องของตัวชี้วัด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Key Result Indicator -KRI ) แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลง (เราได้ทำอะไรไปแล้วบ้าง) ใช้สำหรับการประเมินผล หรือการรายงานให้ผู้คุมนโยบายหรือผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งสังคมทั่วไปทราบ แต่ไม่เหมาะสำหรับผู้มีหน้าที่บริหารจัดการเพราะไม่สามารถใช้ปรับทิศทางของงานได้เนื่องจากงานเสร็จสิ้นไปแล้ว ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator-PI) แสดงปฏิบัติการที่นำไปสู่ผลลัพธ์ (เราต้องทำอะไรบ้าง) ใช้โดยองค์กรระดับกลางและระดับปฏิบัติการเพื่อควบคุมการปฏิบัติงานในส่วนที่รับผิดชอบหรือในการวางแผนการเงินและงบประมาณ รวมทั้งการประเมินหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator- KPI) มีลักษณะเป็นปัจจุบันหรืออนาคตเท่านั้น ใช้สำหรับติดตามงาน และปรับทิศทางที่ต้องทำทันทีที่เกิดปัญหาต่องานที่เป็น “หัวใจของความสำเร็จ” (Critical Success Factor-CSF) นอกจากนี้ ยังใช้สำหรับกำหนดและติดตามงานว่าจะทำอะไรบ้างในอาทิตย์หน้า หรือ เดือนหน้า และต้องมีการติดตามดูความเคลื่อนไหวของตัวชี้วัดอย่างใกล้ชิดโดยผู้ปฏิบัติและผู้จัดการ ตามงานว่าจะทำอะไรบ้างในอาทิตย์หน้า หรือ เดือนหน้า

การกำหนดทิศทางการพัฒนา ใช้เครื่องมือสำคัญ 2 ชนิด 1. Critical Success Factor (หัวใจความสำเร็จ) “ อะไรคือสิ่งที่จุดประกายที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ (หรือปฏิกิริยาลูกโซ่)ที่นำไปสู่ความสำเร็จ” 2. Key Performance Indicator (KPI) “ เราต้องทำหรือจะทำอะไรที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่เหล่านั้น ”

ทางเดินของข้อมูลและตัวชี้วัดในระบบสุขภาพอำเภอ สถาบันฯพัฒนาการใช้ ตัวชี้วัดของภาคประชาชน *แสดงกิจกรรม / งานสำคัญ?

การสร้างฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ นำรายการตัวชี้วัดผลผลิตและผลสำเร็จจากตาราง 7 ช่อง พร้อมข้อมูลที่จำเป็นอื่นๆมาสร้างเป็นระบบข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ โดยให้เป็นส่วนหนึ่งของข้อมูลระดับอำเภอที่ใช้ร่วมกันระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องทุกสาขา กระทรวง สธ. สร้างโปรแกรมสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่ให้สามารถใช้ประเมินความเสี่ยงและความก้าวหน้าของการพัฒนาบนพื้นฐานของ KPI/KRI ข้อมูลที่แนะนำปรากฏตามภาพ อาจเพิ่มเติมตัดทอนได้ตามที่ผู้บริหารระดับต่างๆจะตกลงกัน

จะวางรูปแบบสถาบันนวัตกรรมฯอย่างไร ?

Program Budgeting ตารางนิยามงาน : การจัดการกลุ่มเป้าหมาย หรือ สภาวะแวดล้อมของกลุ่มเป้าหมาย ชุดงาน 1 งาน งาน งาน ชุดงาน 2 งาน งาน งาน ชุดงาน 3 งาน งาน งาน

การจัดลำดับงาน 1. นำงานย่อยมาทำบัญชีงาน เรียงลำดับก่อนหลังบนกระดาษร่าง 1. นำงานย่อยมาทำบัญชีงาน เรียงลำดับก่อนหลังบนกระดาษร่าง 2. ร่างผังความเชื่อมโยง (PERT Chart) ของงานย่อยต่างๆลงบนกระดาษแผ่นใหญ่ ร่างครั้งแรกไม่จำเป็นต้องถูกต้องเสมอ แต่จะเห็นภาพอย่างสังเขปว่าอะไรทำพร้อมกันได้ อะไรต้องทำก่อนหลัง 3. เขียนเวลาที่ประมาณสำหรับทำงานไว้ท้ายชื่องานในบัญชีงาน (ข้อ 1) 4. ปรับปรุงแก้ไขลำดับความเชื่อมโยงใน PERT Chart (ข้อ 2) จนพอใจ 5. กำหนดตัวผู้รับผิดชอบแต่ละงาน

การสร้างแผนปฏิบัติการ กำหนดเวลาที่ต้องใช้ตั้งแต่ต้นจนจบของแต่ละงาน (จาก ช่อง 6 ของตาราง 7 ช่อง) ร่าง GANTT Chart จากข้อมูลลำดับงานใน PERT Chart และเวลา (จากบัญชีงาน ข้อ 1) 8. เขียนช่วงเวลาเป็นชื่อเดือนและวันที่ (เป็นรายอาทิตย์ เริ่มวันจันทร์) ไว้บนแถบขวางด้านบนของผัง Gantt chart 9. เขียนชื่องานที่ช่องแรก งานบางตัวอาจยุบรวมกันได้ ดูตามเหตุผลสมควร 10. วางแถบงานตามช่วงเวลาที่จะทำ แสดงงานเริ่มจนงานสิ้นสุด (จากข้อ 3)

การจัดโครงสร้างองค์กร (Organizational Structure) เสนอให้ใช้โครงสร้างแบบ Team & Network ภายในองค์กรสถาบันนวัตกรรมฯ วางโครงสร้างแบบ Team คือ บุคลากรของสถาบันฯที่จะสามารถตอบสนองงานลักษณะเดียวกันที่เป็นของกิจกรรมต่างๆ (โดยจัดกลุ่มงานใหม่ตามลักษณะของงาน เช่น งานวิจัยพัฒนา งานฝึกอบรม งานสื่อสาร งานบริหารจัดการ งานการเงิน ฯลฯ) แต่ละกลุ่มงานมีหัวหน้าทีมรับผิดชอบ แต่ละทีมมีสมาชิกที่มีความสามารถเฉพาะหรือสนใจในเรื่องนั้นๆ วิธีนี้จะทำให้แต่ละงานมีโอกาศได้รับความสำเร็จสูงสุด ในขณะที่ปัญหาที่อาจจะเกิดได้รับการแก้ไขอย่างดีที่สุดโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะของทีม วิธีนี้จะทำให้องค์กร(สถาบันนวัตกรรมฯ) มีโอกาสเติบโต ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้จะเป็นการกำจัดการแข่งดีกัน (อาณาเขตของข้า ใครอย่าแตะ) ระหว่างหน่วยงานต่างๆซึ่งมักเกิดกับกรณีจัดโครงสร้างแบบแบ่งกอง (Divisional Structure) และในที่สุดจะขัดขวางต่อความเจริญก้าวหน้าของสถาบันโดยรวม

การจัดโครงสร้างองค์กร (Organizational Structure) สำหรับนอกสถาบันฯ ใช้ระบบ Network สร้างเครือข่ายโดยวิธี Outsource งานบางชิ้น เช่นการวิจัยพัฒนาเฉพาะเรื่อง หรือการฝึกอบรม ฯลฯ ให้องค์กรอื่นที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ จัดจ้างบุคคลภายนอกที่มีทักษะ มีประสบการณ์ เพื่อให้ช่วยทำงานบางส่วนหรือบางเรื่องที่เขาเหล่านั้นมีความเชี่ยวชาญหรือมีประสบการณ์ ใช้องค์กรที่มีลักษณะเป็นองค์กรผสม (Hybrid Organization) ระหว่างรัฐกับประชาชนที่มีอยู่แล้วจากการการพัฒนางานของรัฐเดิม เช่น โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน โรงเรียน อสม. ชมรมผู้สูงอายุ โรงเรียนทั่วไปที่มีหลักสูตรสาธารณสุขมูลฐาน ฯลฯ สร้างนวัตกรสังคมทั้งในภาครัฐและเอกชนขึ้นมาอีกกลุ่ม นอกจากอสม. เพื่อประโยชน์ในการสร้างเครือข่ายกับองค์กรภาคเอกชนทุกระดับ วิธีสร้างเครือข่ายจะทำให้ต้นทุนการสร้างสุขภาพและป้องกันโรคลดลง ในขณะที่ประสิทธิผลจะเพิ่มขึ้น

วางยุทธศาสตร์ / อำนวยการ รูปองค์กรสถาบันนวัตกรรมฯ (Organization Chart) ผอ.สถาบันฯ วางยุทธศาสตร์ / อำนวยการ ทีม พัฒนานวัตกรรม สร้าง / บริหารโครงการ เสริมสร้างสมรรถนะ สื่อสาร บริหารเครือข่าย เลขาฯสถาบัน บริหารจัดการกิจการของสถาบันฯ

คำแนะนำทั่วไป ควรมีการประชุมวางแผนบูรณาการบทบาทร่วมกันระหว่างกรมต่างๆและสำนักงานปลัดฯ ควรมีการเพิ่มทักษะในการบริหารจัดการโครงการแบบบูรณาการให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เมื่อจัดการบูรณาการแล้ว ควรก้าวสู่การสร้างและจัดการนวัตกรรมสังคมโดยเร็ว ควรบูรณาการบทบาทกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อพัฒนาสภาวะแวดล้อมของกลุ่มวัยฯ เนื่องจากจะมีการบูรณาการงานระดับท้องถิ่น/ตำบล จึงควรปฏิรูประบบการเก็บและรายงานข้อมูลในระดับต่างๆให้สอดคล้อง