Nursing care during prenatal period

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
Advertisements

แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
Birth asphyxia Pakamas Srisuvunrat.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
โครเมี่ยม (Cr).
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
Assoc. Prof. Pawin Puapornpong
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
COMPETENCY DICTIONARY
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ บนออโตโซม (Autosome)
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
แนวทางการดูแล Very High Risk Pregnancy ตาม Udon model 7 Step
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
รู้เรื่องยา แท้งปลอดภัย
การติดตาม (Monitoring)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การตรวจร่างกายทั่วไป และการตรวจทางห้องปฏิบัติการในสตรีตั้งครรภ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
การเตรียมการตรวจประเมินตัวชี้วัด 3.4 Best Service
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Nursing care during prenatal period อ.จรรยา คำแสน

ซักประวัติ “Taking history” 1.ส่วนตัว 2.ครอบครัว 3.ความเจ็บป่วยในอดีต 4.การตั้งครรภ์ครั้งก่อน 5.การตั้งครรภ์ปัจจุบัน

Physical examination ท่าเดิน ความสูง น้ำหนัก การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักโดยปกติ อายุครรภ์ 0-3เดือนควรเพิ่ม1-1.5 kgs.หรืออาจไม่เพิ่ม อายุครรภ์ 4-6เดือนควรเพิ่ม5-6 kgs.หรือ2kgs/เดือน อายุครรภ์ 7-9เดือนควรเพิ่ม4-5 kgs.หรือ1kgs/เดือน

การใช้ดัชนีมวลกาย(BMI)=น้ำหนัก(kgs)/ส่วนสูง(m2)

4.อาการบวม 4.ลักษณะทั่วไปของหญิงตั้งครรภ์ ภาวะซีด ปากฟัน ต่อมไทรอยด์ 5.ความดันโลหิต

6.เต้านม- Waller’s test -Hoffman’s Manuver

การตรวจสภาพเชิงกราน การตรวจสภาพเชิงกรานภายนอก การตรวจสภาพเชิงกรานภายใน การถ่ายภาพรังสี

การตรวจสภาพเชิงกรานภายนอก เป็นการคะเนFalse Pelvic โดยใช้martin’s pelvimeter 1. Interspinous diameter 2. Intercristal diameter 3. External conjugate diameter

ภาพเชิงกรานที่วัดจากภายนอก

2. การตรวจสภาพเชิงกรานภายใน 1. Pelvic inlet 1. 1True conjugate diameter 1.2Obstertrical conjugate diameter 2. Midpelvic

Median section of the pelvis, showing the planes of the inlet and outlet. The true (T), obstetrical (O), and diagonal (D) conjugate diameters are indicated. The axis of the birth canal, that is, the path taken by the fetal head in its passage through the pelvic cavity, can be seen to turn at the uterovaginal angle. 5, fifth lumbar vertebra

โดยการคลำดูความงุ้มแหลมของกระดูก Ischial spine

3. Pelvic outlet จากกระดูกpubis symphysis ไปยัง Ischail tuberosity มุมsub pubic angle มากกว่า 90 องศา

Laboratory test 1.Blood Hematocrit Hemoglobin,group, Thalassemia VDRL (Venereal disease), Hepatitis B Virus, HIV ตรวจคัดกรองผลเลือดต่างๆตามอาการของหญิงตั้งครรภ์ 2. Urine Urine sugar = neg, trace ถือว่าปกติ Urine albumin = +1 ขึ้นไป ควรตรวจ U/A ซ้ำ

การวินิจฉัยการตั้งครรภ์** แค่ อาจจะ..นะ การวินิจฉัยการตั้งครรภ์** 1.Presumtive signs “อาจจะเกิดการตั้งครรภ์” 1.Amenorrhea, Missed period 6. ปัสสาวะบ่อย 2.Breast change 7. อ่อนเพลีย 3.Chadwick’ s signs 8. quickening or 4.Skin change perception of life 5. Nausea and Vomitting

2.Probable signs ท้องโตขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงของรูปร่างและขาดของมดลูก มีการเปลี่ยนแปลงที่ปากมดลูก Braxton Hicks contraction Ballottement Outlining ผล UPT +ve Physical Leucorrhea น่าจะ แต่ก้อ ไม่ถึงกับแน่นอน

3.Positive signs ท้องแน่ๆ ? ? ? 1. Fetal heart sound 2. Fetal movement 3. X-ray พบ กระดูกทารก 4 Ultrasound พบ sac

การคำนวณอายุครรภ์ 1.Necgele’s rule หากำหนดวันคลอด = Expected date confinement (E.D.C) จาก Last menstrual period (L.M.P.) E.D.C = L.M.P.+ 9 เดือน +7 วัน 2. Quickening, ครรภ์แรก 18-20 สัปดาห์ ครรภ์หลัง 16-18 สัปดาห์

3.Lightening or Subsidence ครรภ์หลัง ระยะเจ็บครรภ์ ครรภ์แรก 36-38 สัปดาห์ ครรภ์หลัง ระยะเจ็บครรภ์ 4.การวัดระดับมดลูก

อายุครรภ์(สัปดาห์) = ความสูง(ซม.) X 8/7 4.1 Anatomical Landmark 4.2 Mc Donald’s rule อายุครรภ์(สัปดาห์) = ความสูง(ซม.) X 8/7 4.3 คนอื่นๆ 5. Ultrasound 6. Ovulation 7. X-ray

จุดประสงค์ 1. เปรียบเทียบขนาดของมดลูก กับระยะการขาดประจำเดือน 1. เปรียบเทียบขนาดของมดลูก กับระยะการขาดประจำเดือน 2. วินิจฉัยสภาพของทารกว่าอยู่ในลักษณะใด 3.เพื่อวินิจฉัยว่าทารกยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ 4.ฟังเสียงหัวใจทารก 5. เพื่อวินิจฉัยความผิดปกติอื่น ๆ

วิธีการตรวจครรภ์ การดู (Inspection) 1.ขนาดหน้าท้อง 2.ลักษณะทั่วไป 3.รูปร่าง 4.การเคลื่อนไหวของทารก

การคลำ (abdominal palpation) วิธีลิโอโป (Leopold’s maneuver) First maneuver (First Leopold Handgrip, Fundal Grip) -ระดับของยอดมดลูก -ส่วนของทารกที่ยอดมดลูก

2. Second maneuver (Second Leopold Handgrip, Umbilical Grip)

3. Third maneuver (Third Leopold Handgrip, Pawlik’s Grip)

4. Fourth maneuver (Fourth Leopold Handgrip, Bilateral Grip)

การวินิจฉัยท่าของทารกในครรภ์ แนวลำตัว = Lie จุดนำ = denominator ทรง = attitude

lie 1.Longitudinal lie 2.Transverse lie 3. Oblique lie

Presentation or presenting part 1.Cephalic presentation 1.1 Vertex presentation or Occiput 1.2 Bregma presentation 1.3 Brow presentation 1.4 Face presentation

2. Breech Presentation 2.1 Complete breech 2.2 Incomplete breech

Denominator,Leading point,Compass point Presentation Denominator ตัวย่อ Vertex Occiput o Bregma Occiput o Brow Frontal F Face Mentum M Breech Sacrum S Shoulder Scapula หรือ Acromion Sc,Ac

attitude 1.Flexion 2.Deflexion

ท่าของทารกในครรภ์(position)

การฟัง (Auscultation) FHS ปกติ =120-160 ครั้ง นาที ฟังบริเวณleft scapular region ของทารก

เสียงที่ฟังได้นอกเหนือจาก FHS 1.Umbilical soufflé หรือ Funic soufflé 2.Uterine souffle 3.Fetal shocking sound

การให้คำแนะนำระหว่างตั้งครรภ์ การนัดตรวจครรภ์ อายุครรภ์ 1-28 สัปดาห์ นัดทุก 4 สัปดาห์ อายุครรภ์ 28-36 สัปดาห์ นัดทุก 2-3 สัปดาห์ อายุครรภ์ 36 สัปดาห์ขึ้นไป นัดทุก 1 สัปดาห์

อาการที่หญิงตั้งครรภ์ควรมาก่อนกำหนดนัด มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนมาก ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นบริเวณลิ้นปี่ บวมที่หน้า มือ และขามาก หรือน้ำหนักเพิ่มมากเกินสัปดาห์ละ 500 กรัม ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ ทารกในครรภ์ไม่ดิ้น หรือดิ้นน้อยลง มีเลือดออกทางช่องคลอด ถุงน้ำรั่วหรือแตก มีไข้หรือมีอาการติดเชื้อของระบบใดระบบหนึ่ง

การป้องกันสุขภาพของมารดา และทารกในครรภ์ การดูแลสุขภาพทางร่างกายโดยทั่วไปให้สมบูรณ์ แข็ง การดูแลทางด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ การตรวจร่างกายโดยทั่วไป การตรวจครรภ์ และการประเมินสภาพทารกในครรภ์ คำแนะนำการปฏิบัติตัวในระหว่างการตั้งครรภ์ คำแนะนำสังเกตอาการและอาการแสดดงต่างๆที่ผิดปกติ การมาตรวจตามนัด และอาการที่ควรมาก่อนวันนัด การให้คำแนะนำเกี่ยวกับการได้รับวัคซีน วิตามิน และ ยา ที่ควรได้รับและเป็นข้อห้ามในระหว่างการตั้งครรภ์

เกณฑ์ที่ใช้ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ ตามแนวทางการดูแลผู้ตั้งครรภ์แนวใหม่ขององค์การอนามัยโลก (Classifying form) โดยให้ตอบคำถาม18ข้อว่ามีข้อใดบ้างที่เป็นภาวะเสี่ยง

นัด 5ครั้งกรณีไม่มีภาวะเสี่ยง การนัดฝากครรภ์ตามดูแลผู้ตั้งครรภ์แนวใหม่ขององค์การอนามัยโลก Checklist การดูแลผู้ตั้งครรภ์แนวใหม่ขององค์การอนามัยโลก นัด 5ครั้งกรณีไม่มีภาวะเสี่ยง

การฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก

การใช้สมุดฝากครรภ์

บันทึกลงในเอกสารต่อไปนี้ OPD card บัตรอนามัยมารดา สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก บัตรฝากครรภ์ (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ)

สิ่งที่ต้องบันทึก 1.ชื่อผู้รับบริการ สามี และผู้ที่สามารถติดต่อได้ 2.ประวัติครอบครัว 3.ประวัติการไห้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยัก 4.ประวัติการตั้งครรภ์ การแท้ง และการคลอด 5. ประวัติการคุมกำเนิดก่อนการตั้งครรภ์ปัจจุบัน

6. การตรวจร่างกาย 7. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 8. บันทึกการตรวจครรภ์ 9. บันทึกผลการคลอด 10. การดูแลหลังคลอด

คำศัพท์ต่างๆที่ใช้ในการตรวจครรภ์ Gravida, Gravidity : จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ Primigravidaprum : การตั้งครรภ์ครั้งแรก. Multigravida : การตั้งครรภ์ครั้งหลัง Para, Pararity: การตั้งครรภ์ที่สิ้นสุดด้วยการคลอด Nullipara : หญิงที่ไม่เคยผ่านการคลอดมาก่อน Primipara : หญิงตั้งครรภ์และคลอดบุตรที่พอที่จะ ดำรงชีวิตอยู่ได้เป็นครั้งแรก

Mutlipara :หญิงตั้งครรภ์ที่คลอดบุตรโตพอที่ จะดำรงชีวิตอยู่ได้ตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป Gradmultipara : หญิงตั้งครรภ์ที่คลอดบุตรโตพอที่ จะดำรงชีวิตอยู่ได้ตั้งแต่ 5 ครั้งขึ้นไป GA = wks, FHS = ครั้ง/นาที Gestational age = weeks FH = cms, LOA/HF , ROA/HE

การบันทึกประวัติ G4P2-0-1-2 last 1 ปี เลขตัวแรก :จำนวนครั้งของการคลอดที่ตั้งครรภ์ครบ กำหนด เลขตัวที่ 2 :จำนวนครั้งของการคลอดก่อนกำหนด เลขตัวที่ 3 :จำนวนครั้งของการแท้ง เลขตัวที่ 4 :จำนวนบุตรที่มีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน ส่วนตัวเลขหลัง last หมายถึงระยะเวลาที่นับจากการสิ้น สุดการตั้งครรภ์ครั้งสุดท้ายจนถึงปัจจุบัน

การบันทึกผลการตรวจทางห้องทดลอง ผลเลือด HBS Ag = negative or positive HBe Ag = negative or positive Anti HIV (VD2 เฉพาะรพ.ส่งเสริมสุขภาพ) = negative or positive VDRL = Reactive or Nonreactive

หมายเหตุ ผลการตรวจที่ผิดปกติควร บันทึกด้วยปากกาสีแดง ผลปัสสาวะ Albumin (Alb)= negative, trace, +1, +2, +3, +4 Sugar = negative, trace, +1, +2, +3, +4 หมายเหตุ ผลการตรวจที่ผิดปกติควร บันทึกด้วยปากกาสีแดง