ความก้าวหน้าและการเตรียมความพร้อม ของไทยสู่ประชาคมอาเซียน ความก้าวหน้าและการเตรียมความพร้อม ของไทยสู่ประชาคมอาเซียน บุศรา กาญจนาลัย ผอ.กองอาเซียน 4 กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๔
ความสำคัญของอาเซียนต่อไทย เป็นคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทย มีมูลค่าการค้าระหว่างกัน 59,250 ล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 21.3 ของมูลค่าการค้าทั้งหมดของไทยและไทยได้เปรียบดุลการค้าถึง 1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สมาชิกอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทย 669.43 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และไทยไปลงทุนในอาเซียน 1,962.01 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ข้อมูลปี 2552) นักท่องเที่ยว 4 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 28.6 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด
จุดเริ่มต้นของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ลงนาม Bali Concord II ปี 2003 ระบุการจัดตั้งประชาคมอาเซียน โดยมีแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ (Vientiane Action Programme 2004-2010) - ประชาคมการเมือง-ความมั่นคง (ASEAN Political-Security Community: APSC) - ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community: AEC) - ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) การประชุมสุดยอดฯ ครั้งที่ 12 ที่เซบู เร่งรัดการจัดตั้งประชาคมให้เร็วขึ้นจากปี 2563 เป็น 2558
กฎบัตรอาเซียน ลงนามเมื่อ 20 พ.ย. 50 มีผลใช้บังคับ 15 ธ.ค. 51 กฎกติกาในการทำงาน มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง วางรากฐานการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน
แผนงานจัดตั้งประชาคมอาเซียน (2009-2015) ปฏิญญาชะอำ-หัวหินว่าด้วยแผนงานจัดตั้งประชาคมอาเซียน (2009-2015) ประกอบด้วย 3 แผนงาน มอบหมาย รมต. ของ sectoral body ที่เกี่ยวข้องอนุวัตรการตามปฏิญญา และติดตามพันธกรณี รายงานเรา ตลอดจนคณะมนตรี่ที่เกี่ยวข้อง ให้ระดมทุนจากประทศ DP องค์กรต่างๆ
การเมืองและความมั่นคง ประชาคมอาเซียน สังคมและวัฒนธรรม ASCC การเมืองและความมั่นคง APSC เศรษฐกิจ AEC ผู้นำมอบหมายให้รมต ของแต่ละ sectoral body ดำเนินการตามแผนงานเพื่อสร้างประชาคมอาเซียน
โครงสร้างอาเซียนภายใต้กฎบัตรอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน คณะมนตรีประสานงานอาเซียน คณะมนตรี ประชาคมการเมือง และความมั่นคง คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน คณะมนตรีประชาคมสังคม และวัฒนธรรม อาเซียน การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส ของคณะมนตรีฯ การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส ของคณะมนตรีฯ การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส ของคณะมนตรีฯ องค์กรเฉพาะสาขา องค์กรเฉพาะสาขา องค์กรเฉพาะสาขา
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community: APSC) ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง อยู่ร่วมกันโดยสันติ แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี สร้างกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน ด้านประชาธิปไตย สิทธิ มนุษยชน ความรับผิดชอบร่วมกันในการสร้างความมั่นคงที่ครอบคลุม รอบด้าน เช่น โรคระบาด ภัยพิบัติธรรมชาติ มีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก
ความสัมพันธ์กับนอกภูมิภาค U.S.A. Australia Russia Canada ASEAN New Zealand China Republic of Korea E.U. Japan India
ความสัมพันธ์กับนอกภูมิภาค RIO GROUP UN ASEAN SAARC GCC MERCOSUR ECO
สถาปัตยกรรมในภูมิภาค (Regional Architecture) ของอาเซียน ARF/ APEC EAS/ ADMM-Plus ASEAN+3 ASEAN
องค์กรเฉพาะสาขาภายใต้ APSC AMM/ SOM (กต) SEANFZ Commission / Executive Committee(กต) ADMM/ ADSOM (กห) ARF (กต) ALAWMM/ ASLOM (อส) AMMTC /SOMTC (สตช) - ASOD (ปปส) - DGICM (สตม./ กต) AICHR
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) สัมมนาสื่อมวลชนประชาสัมพันธ์เชื่อมโยงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี ปี 2015 สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค 14 เก็จพิรุณ เกาะสุวรรณ์
เขตการค้าเสรีอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา ASEAN-Russia ASEAN-Canada CEPEA ASEAN-China FTA ASEAN-EU FTA ASEAN-US TIFA EAFTA ASEAN-Korea FTA ASEAN-Japan CEP ASEAN-Pakistan AEC EAFTA (East Asia Free Trade Area) ความตกลงเขตการค้าเสรีเอเชียตะวันออก CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนกับ 6 ประเทศ ASEAN-US TIFA (ASEAN-US Trade And Investment Framework Arrangement) ASEAN-India FTA AEC: 600.15 ล้านคน EAFTA: 2129 ล้านคน CEPEA: 3365 ล้านคน ASEAN-Australia- New Zealand FTA 15
องค์กรเฉพาะสาขาภายใต้ AEC AEM/ SEOM (พณ) AFTA Council (พณ) AIA (สสก) AFMM/ AFDM/ Custom DG (กค/ ธปท) AMAF SOM-AMAF/ ASOF (ทส) AMEM/ SOME (พง) AMMin/ ASSOM (ทส) AMMST/ COST (วท) TELMIN/ TELSOM/ ATRC (ICT) M-ATM/ ASEAN NTO (กทก/ ททท) AMBDC/ AMBDC ST (พณ สศช)
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community :ASCC) 1. การพัฒนามนุษย์ 2. การให้ความคุ้มครองและสวัสดิการสังคม 3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม 4. สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน 5. การสร้างอัตลักษณ์ 6. ลดช่องว่างในการพัฒนา
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) วัตถุประสงค์ สร้างความพร้อมของอาเซียนเพื่อรับมือกับความท้าทายทางสังคมที่เพิ่มขึ้น อาทิ ปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำ ยาเสพติด ภัยพิบัติทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม โรคระบาดและโรคติดต่อร้ายแรง การศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สร้างสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน (One Caring and Sharing Community) ประเด็นข้ามชาติ : การทำให้อาเซียนเป็นเขตปลอดยาเสพติดภายในปี 2558 / การเคลื่อนย้ายถิ่นฐานของประชากร /ปัญหามลพิษหมอกควัน / ปัญหาไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 18
องค์กรเฉพาะสาขาภายใต้ ASCC AMRI/ SOMRI (สนร) AMCA/ SOMCA (วธ) ASED/ SOM-ED (ศธ) AMMDE/ ACDM (มท) AMME/ ASOEN (ทส) Transboundary Haze (ทส) AMMW/ ACW (พม) ACWC (พม) ALMM/ SLOM (รง) AHMM/ SOMHD (สธ) AMRDPE/ SOMRDPE (มท) AMMSWD/ SOMSWD (พม) AMMY/ SOMY (พม) ACCSM (กพ) AMS (กทก)
บทบาทของไทยในการผลักดันการสร้างประชาคมอาเซียน จัดตั้งและผลักดันการดำเนินการของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights- AICHR) ส่งเสริมความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติในภูมิภาค ส่งเสริมมาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures- CBMs) และการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ในกรอบการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum- ARF)
บทบาทของไทยในการผลักดันการสร้างประชาคมอาเซียน ผลักดันให้เขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone- SEANWFZ) มีบทบาทมากยิ่งขึ้นในเวทีระหว่างประเทศ และสร้างเสถียรภาพในอาเซียน ริเริ่มการสร้างเขตการค้าเสรีในอาเซียน ผลักดันการการจัดตั้งและประชุมคณะกรรมาธิการอาเซียนด้านสิทธิสตรีและเด็ก The ASEAN Commission on the Promotion and Protection of the Rights of Women and Children – ACWC)
บทบาทของไทยในการผลักดันการสร้างประชาคมอาเซียน ผลักดันประเด็นความคุ้มครองทางสังคมเพื่อเตรียมพร้อมและตอบรับต่อการรวมตัวของอาเซียน อาเซียนที่ปลอดยาเสพติด ผลักดันการเตรียมพร้อมด้านการศึกษา และทักษะแรงงาน ผลักดันประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม ผลักดันการป้องกันและความร่วมมือด้านโรคระบาด เช่น SARS ไข้หวัดนก ไข้หวัด 2009 HIV/AIDS การผลักดันประเด็นการสร้างความเชื่อมโยงในอาเซียน ผลักดันการแลกเปลี่ยนระหว่างประชาชน ความเข้าใจ
การส่งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน (ASEAN Connectivity) การเชื่อมโยงในอาเซียนเป็นผลสืบเนื่องจากความริเริ่มของไทยในช่วงที่ไทยเป็นประธานอาเซียนเมื่อปี 2552 ได้มีการจัดทำแผนแม่บทฯ ซึ่งได้รับความเห็นชอบในการประชุมสุดยอด ครั้งที่ 17 โดยระบุการเชื่อมโยงเป็น 3 รูปแบบ คือ ด้านกายภาพ ด้านสถาบัน/ระบบ และการเชื่อมโยงระหว่างประชาชน การเชื่อมโยงจะมีส่วนสำคัญในการสนับสนุนการสร้างประชาคมของอาเซียน โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ โดยไทยน่าจะได้นับผลประโยชน์มากที่สุด ในฐานะที่เป็นศูนย์กลางของเครือข่ายการเชื่อมโยง ในการประชุมสุดยอด ครั้งที่ 18 ผู้นำอาเซียนได้สนับสนุนข้อเสนอของไทยที่จะให้มีการเชื่อมโยงที่ขยายไปถึงภูมิภาคอื่นด้วย (Connectivity Plus)
ยุทธศาสตร์ความเชื่อมโยงทางโครงสร้างพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 1 ก่อสร้างโครงข่ายทางหลวงอาเซียนให้แล้วเสร็จ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ดำเนินโครงการเส้นทางรถไฟสิงคโปร์-คุนหมิงให้แล้วเสร็จ ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้ำบนภาคพื้นทวีปที่มีประสิทธิภาพ และเชื่อมโยงกัน ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบการขนส่งทางทะเลที่เชื่อมโยง มีประสิทธิภาพ และแข่งขันได้ ยุทธศาสตร์ที่ 5 สร้างระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่คล่องตัวเพื่อให้อาเซียน เป็นศูนย์กลางการขนส่งในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอื่นๆ ยุทธศาสตร์ที่ 6 เร่งรัดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารในประเทศสมาชิก ยุทธศาสตร์ที่ 7 ให้ความสำคัญกับโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของอาเซียน 24
ยุทธศาสตร์ความเชื่อมโยงทางกฎระเบียบ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ดำเนินการตามกรอบความตกลงทั้ง 3 กรอบว่าด้วยการอำนวย ความสะดวกในขนส่ง ยุทธศาสตร์ที่ 2 เริ่มดำเนินโครงการการอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งผู้โดยสารในโครงข่ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐต่างๆ ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างตลาดการบินเดียวในอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างตลาดการขนส่งทางเรือเดียวในอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 5 เพิ่มการเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรีภายในภูมิภาคอาเซียน 26
ยุทธศาสตร์ความเชื่อมโยงทางกฎระเบียบ ยุทธศาสตร์ที่ 6 เร่งรัดการพัฒนาภาคการบริการทางการขนส่งที่มีประสิทธิภาพแล แข่งขันได้โดยเฉพาะในสาขาโทรคมนาคม และการบริการอื่น ๆ ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนาโครงการการอำนวยความสะดวกด้านการค้าในภูมิภาค อย่างจริงจัง ยุทธศาสตร์ที่ 8 ยกระดับความสามารถของการบริหารจัดการพรมแดน ยุทธศาสตร์ที่ 9 เร่งรัดให้ชาติสมาชิกอาเซียนเปิดรับการลงทุนจากภายในและ ภายนอกภูมิภาคภายใต้กฎระเบียบการลงทุนที่เป็นธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 10 เสริมสร้างความสามารถของสถาบันในพื้นที่ล้าหลังของภูมิภาคและปรับปรุงการประสานงานด้านนโยบาย แผนงาน และโครงการในระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค 27
ยุทธศาสตร์ความเชื่อมโยงทางประชาชน ยุทธศาสตร์ 1 ส่งเสริมความเข้าใจด้านสังคมและวัฒนธรรมภายในอาเซียน ให้ลึกซื้งยิ่งขึ้น ยุทธศาสตร์ 2 ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้เพิ่มขึ้น 28
ประเด็นปัญหาท้าทายของอาเซียนในภาพรวม โครงสร้างความสัมพันธ์ ในภูมิภาค การแข่งขันของมหาอำนาจ สหรัฐ รัสเซีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น วิกฤตเศรษฐกิจ และการเงินโลก สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติ ประชาคมอาเซียน: ผลกระทบทางลบ ของการเชื่อมโยงในภูมิภาค (regional connectivity) ความตระหนักรู้และ การมีส่วนร่วมของประชาชน
การเตรียมความพร้อมของไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
การเตรียมความพร้อมในภาพรวม การสร้างความตระหนักรู้ให้กับประชาชนทุกภาคส่วน ศักยภาพด้านภาษา ICT การผนวกแผนปฏิบัติการของอาเซียนเข้าในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และนโยบายของรัฐบาลและส่วนราชการ เพื่อผลักดันให้ไทยสามารถบรรลุวิสัยทัศน์หรือเป้าประสงค์ที่ผู้นำอาเซียนมีร่วมกัน ปรับโครงสร้างหน่วยราชการ เพื่อให้สอดรับกับการเตรียมการเพื่อสร้างประชาคม การสร้างองค์ความรู้ของหน่วยราชการ รับทราบข้อมูลอาเซียนที่ทันต่อเหตุการณ์ บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน และช่วยเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การจัดตั้งสำนักงานหรือส่วนความร่วมมืออาเซียนในส่วนราชการ เป็นจุดประสาน เป็นเครือข่ายในการขับเคลื่อนการเป็นประชาคมอาเซียนในส่วนราชการของไทย
การดำเนินการของกระทรวงการต่างประเทศ ในการเตรียมความพร้อม การดำเนินการของกระทรวงการต่างประเทศ ในการเตรียมความพร้อม คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ ประกอบด้วยผู้แทนกระทรวง ส่วนราชการและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ร่วมมือและส่งเสริมกิจกรรมของสมาคมอาเซียน-ประเทศไทย ภาควิชาการและ ภาคประชาสังคม ร่วมมือกับหน่วยราชการต่างๆ ในการเตรียมความพร้อม สร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนในภาพรวม เช่น กระทรวงพาณิชย์ สำนักงาน ก.พ. กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมประชาสัมพันธ์ เป็นต้น กิจกรรมอาเซียนสัญจร บัวแก้วสัญจร
ขอบคุณค่ะ www.mfa.go.th/asean One Vision One Identity One Community