เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง การจัดแผนยุทธศาสตร์ เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง วิสัยทัศน์ : เป็นเลิศด้านบริหาร บริการและสร้างสุขภาพ โดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม เพื่อชุมชนอยู่ดีมีสุขและบุคลากรมีความสุข
Service Service Inactive Management Model SIM
พันธกิจ – ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. สร้างสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ อนามัยสิ่งแวดล้อม คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการดูแลและจัดการระบบสุขภาพ 1. สร้างเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภค การจัดการสิ่งแวดล้อม ให้มีประสิทธิภาพ และสร้างความเข้มแข็งในภาคประสังคม 2. พัฒนาระบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และเป็นธรรม 2. พัฒนาคุณภาพสถานบริการตามมาตรฐาน ลดความแออัดและจัดระบบบริการในเครือข่ายแบบไร้รอยต่อ 3. พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะมีความสุขในการทำงานและส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการดูแลและจัดการระบบสุขภาพ 3. พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะมีความสุขในการทำงานและสร้างความเข็มแข็งในภาคประชาสังคม 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 4. พัฒนาระบบบริหาร การจัดการทางการเงิน ระบบสารสนเทศและยุทธศาสตร์ และการวิจัยและนวัตกรรมององค์กร เพื่อสนับสนุนการให้บริการ
ของโรงพยาบาลน้ำพอง ปีงบประมาณ 2561
ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนน 101. ระดับความสำเร็จในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ระดับ 4 4 - ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่พบภาวะเสี่ยง ≥ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 ≥ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 131 / 434 30.18 103. ระดับความสำเร็จของการดูแลเด็ก 0-5 ปี - ร้อยละเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วนร้อยละ 56 ร้อยละ 56 3,128/5,947 52.60 105. ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในการเฝ้าระวังและป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับ 5 - ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุน้อยกว่า 20 ปี (ไม่เกินร้อยละ10) ไม่เกินร้อยละ 10 หรือลดลงร้อยละ 2 8/56 (14.29) 106. ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30 – 44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ 3 - ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ( 18.5-22.9 กก./ตรม. ) 11,138 5,550 49.83
ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนน 110. ระดับความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 82.6 2 114. ร้อยละการคัดกรองในกลุ่มสตรีที่ต้องเฝ้าระวังมะเร็งที่มีความเสี่ยงสูงมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก 4 - ร้อยละการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มสตรีที่ต้องเฝ้าระวังมะเร็งที่มีความเสี่ยงสูง ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 19,771 (8140) 41.1
ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนน 201. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่ได้รับการคัดกรอง CKD และควบคุมได้ตามเกณฑ์ 4 - ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรอง CKD≥ ร้อยละ 80 ≥ ร้อยละ 80 4,657 / 9,376 (49.67) 203. ร้อยละของผู้ป่วย โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ได้รับยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ภายใน 30 นาที > 50% 2 / 11 (18.18) 2 210. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน HA ของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ระดับ 5 ระดับ 3 3 405. ร้อยละของเครือข่ายบริการสุขภาพ ( CUP) ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล 10 คะแนน 8 คะแนน
ประเด็นยุทธศาสตร์เน้นหลัก 1. พชอ. (PA) 2. PCC (PA) 3. รพ.สต.ติดดาว(PA) 4. Green & Clean Hospital (กระทรวงฯ) 5. MCH(กระทรวงฯ) คลอดวัยรุ่น 6. Long term care 1. TB (PA) 2. RDU (PA) 3. Fast Track(กระทรวงฯ) Stroke STEMI Sepsis Trauma 4. ยาเสพติด 5. DM,HT,CKD 6.COPD/Asthma 7.Pneumonia 8. 2Psafety P&P Excellence Service Excellence 4E Gorvernance Excellence 1. Digital Transformation(PA) 2. Quality Organization (กระทรวงฯ) PMQA , HA 3. ITA 4. Financial management(กระทรวงฯ) เพิ่มรายรับ - ลดรายจ่าย People Excellence 1.HRD 2.คุณภาพข้อมูล
จุดเน้นของ รพ. ในปีงบประมาณ 2562 1. พัฒนาระบบ Fast Track Stroke STEMI Trauma Sepsis Pneumonia 2. 2P safety 3. ENV 4. เพิ่มรายรับ - ลดรายจ่าย
คู่มือการบันทึกข้อมูล แผนปฏิบัติการ (Action Plan)
เข้าสู่ระบบ
รายละเอียดแผนงาน
ตรวจสอบข้อเสนอแนะ ถ้าหากยังไม่ผ่านการตรวจสอบ
สวัสดี