คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
หัวข้อ อธิบายลักษณะการทำงานของคอมพิวเตอร์ บอกส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ อธิบายเกี่ยวกับฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ บอกลักษณะตัวเครื่องคอมพิวเตอร์แบบต่างๆ บอกส่วนประกอบภายในของเครื่องคอมพิวเตอร์ เข้าใจคำศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ คือ อะไร
คอมพิวเตอร์คืออะไร อุปกรณ์ทางอิเลกทรอนิกส์ ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือ ช่วยในการจัดการกับข้อมูล ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์อื่นๆ โดยทำงานตามคำสั่งของมนุษย์ คอมพิวเตอร์มีความสามารถดังนี้ กำหนดชุดคำสั่งล่วงหน้าได้ (Programmable) สามารถทำงานได้หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคำสั่งที่เลือกมาใช้งาน สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวางเช่น ฝาก-ถอนเงิน สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความถูกต้อง และรวดเร็ว
สรุป คอมพิวเตอร์คือ “อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งมีความสามารถในการจดจำข้อมูลต่าง ๆ สามารถ คิดคำนวณตัวเลข สามารถตอบสนองต่อการกระทำของผู้ใช้ได้ และมีความสามารถในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ไฟฟ้าบางชนิดเพื่อสั่งให้อุปกรณ์ไฟฟ้าเหล่านั้นทำงานได้ตามต้องการ
คอมพิวเตอร์ทำอะไรได้บ้างในชีวิตประจำวัน ความสามารถในการจดจำ ใช้สำหรับจัดทำและบันทึกเอกสารต่าง ๆ เก็บเอาไว้กันสูญหายและประหยัดเนื้อที่ในการเก็บอีกทั้งยังสามารถค้นหาได้ง่าย ๆ ความสามารถในการคำนวณ ใช้แทนเครื่องคิดเลขในการคำนวณตัวเลข และสามารถใช้แทนสมุดบัญชีในการคิดบัญชี และการเงินต่าง ๆ ความสามารถในการตอบสนอง เอาไว้เป็นเพื่อนเล่นแก้เหงา ใช้ในการเรียนรู้จากสื่อความรู้แขนงต่าง ๆ เช่น ซีดีรอมช่วยสอน ความสามารถในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เชื่อมต่อกับเครื่องเสียงเพื่อใช้ ควบคุมเครื่องเสียงให้ทำงานตามต้องการ
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ Storage Out Put Input Processing Communication Device
ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ เริ่มจากนับนิ้วมือ นับกิ่งไม้ ว่าสัตว์เลี้ยงออกจากคอก ?
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ นำเครื่องช่วยนับมาใช้ ซึ่งก็คือ ลูกคิด (Abacus) ประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันยังมีการใช้ ลูกคิด กันอยู่
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2158 นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ชื่อ John Napier เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายกับตารางสูตรคูณในปัจจุบัน ประดิษฐ์เครื่องมือคิดเลขขึ้นมา ก็คือ กระดูกเนเปียร์ (Napier’s Bones)
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2173 วิลเลียม ออตเทรต( William Oughtred) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษต่อมากลายเป็นพื้นฐานของการสร้างคอมพิวเตอร์แบบอนาลอก ปรับปรุงมาเป็น สไลด์รูล (Slide rule)
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2185 เบลส์ ปาสคาล ( Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์เครื่องบวกลบขึ้น โดยใช้หลัการหมุนของฟันเฟือง และการทดเลขเมื่อฟันเฟืองหมุน ไปครบรอบ โดยแสดงตัวเลขจาก 0-9 ออกที่หน้าปัด
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2214 กอตฟริต วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ ( Gottfried Wilhelm Leibniz ) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ปรับปรุงเครื่องคิดเลขปาสคาล ให้ทำงานได้ดีกว่าเดิม และเขายังค้นพบเลขฐานสอง (Binary number)
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2288 โจเซฟ แมรี่ แจคคาร์ด ( Joseph Marie Jacquard) เป็นชาวฝรั่งเศสได้คิด เครื่องทอผ้า โดยใช้คำสั่งจากบัตรเจาะรูควบคุมการทดผ้าให้มีสีและลวดลายต่าง ๆ
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ชาร์ลส์ แบบเบจ ประดิษฐ์เครื่องจักร Difference engine Analytical engine
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ Difference Engine No.1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ Difference engine No.2
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ มีวิวัฒนาการมาอีกมากมาย จนกระทั่ง ค.ศ.1946 J.Eckert และ John Mauchly แห่งมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ สร้างคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นเครื่องแรกของโลก ชื่อ ENIAC (Electronic Numerical Integrator And Calculator)
รูปแบบคอมพิวเตอร์ 1. คอมพิวเตอร์ส่วนตัวแบบ PC (Personal Computer)
รูปแบบคอมพิวเตอร์ 2. คอมพิวเตอร์ส่วนตัว แบบ MAC (Macintosh)
รูปแบบคอมพิวเตอร์ 3. คอมพิวเตอร์คิดเงินหน้าร้าน (POS)
รูปแบบคอมพิวเตอร์ 4. คอมพิวเตอร์พกพา (Notebook)
รูปแบบคอมพิวเตอร์ 5. คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก (PDA : Personal Digital Assistance)
เรามาแยกส่วน Computer กันดู
รู้จักกับองค์ประกอบ
CPU CASE ซีพียูเคส มันมีอะไรอยู่ในกล่องนี้
Main Board แผงควบคุมระบบ
CPU: central processing unit ตัวชิป
RAM : random access memory หน่วยความจำหลัก
Hard Disk หน่วยความจำสำรอง
VGA Card การ์ดแสดงผลจอภาพ
Sound Card การ์ดเสียง
Power Supply หม้อแปลงจ่ายไฟ
Floppy Disk ช่องเสียบแผ่นดิสก์
CD-ROM เครื่องอ่าน/เขียน แผ่นซีดี
Monitor จอภาพ
Keyboard & Mouse พิมพ์ป้อนข้อมูล & เลื่อน/คลิก บนหน้าจอ
UPS เครื่องสำรองไฟฟ้า
อุปกรณ์ต่อพ่วง อื่น ๆ
อุปกรณ์ต่อพ่วง อื่น ๆ
คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ ต้องมีอะไรบ้าง Hard ware Soft ware People ware
Hardware ส่วนที่จับต้องได้ ที่เราสามารถจับต้องหรือสัมผัสได้ เช่น ซีพียู เมนบอร์ด แรม จอภาพ และอื่นๆ
Software ส่วนที่จับต้องไม่ได้ ซอร์ฟแวร์ระบบ ( System Software or Operating System) ซอร์ฟแวร์ประยุกต์ ( Application Software )
OS Windows 2003 Windows XP Windows 2000 Windows NT Windows 98 Software 1 OS Windows 2003 Windows XP Windows 2000 Windows NT Windows 98
Microsoft Office 2003 and Other Software 2 Application Microsoft Office 2003 and Other Microsoft Word Microsoft Excel Microsoft Power Point Microsoft Access Other program
Peopleware ได้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการทำงานด้านคอมพิวเตอร์ เช่น ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ เจ้าหน้าที่ควบคุมการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ฯลฯ
การใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน การสื่อสารทางโทรศัพท์และโทรศัพท์มือถือ การส่งเอกสารทางโทรสาร การใช้บัตรเอทีเอ็มถอนเงินจากบัญชีเงินฝาก การคิดเงินค่าสินค้าโดยอ่านรหัสแท่งบนสินค้า การจองและสำรองที่นั่งเครื่องบิน การทำบัตรประชาชน
งานประยุกต์ในราชการไทย 1. สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง เก็บข้อมูลทะเบียนราษฎร์หกสิบหกล้านระเบียน บันทึกทะเบียนเกิด ทะเบียนแต่งงาน ทะเบียนหย่า ทะเบียนปืน บันทึก ตรวจสอบการย้ายเข้า-ออก การเปลี่ยนชื่อ-สกุล อำนวยความสะดวกในการจัดทำบัตรประชาชน
งานประยุกต์ในราชการไทย (2) 2. กรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ บันทึกราคาสินค้าในจังหวัดต่าง ๆ เป็นประจำ ส่งข้อมูลราคาสินค้าจากจังหวัดเข้าสู่กรมฯ คำนวณสถิติราคาสินค้าและดัชนีค่าครองชีพ จัดทำฐานข้อมูลราคาสินค้าต่าง ๆ
งานประยุกต์ในราชการไทย (3) 3. มหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา ลงทะเบียนวิชาเรียน และ เก็บค่าหน่วยกิต ตรวจข้อสอบและคิดระดับคะแนน บันทึกข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลนักศึกษา บันทึกข้อมูลหนังสือ และ การยืมคืน จัดทำบัญชี และ รายงานเกี่ยวกับการศึกษา
งานประยุกต์ในราชการไทย (4) 4. โรงพยาบาล บันทึกและค้นหาเวชระเบียนผู้ป่วย จัดทำฐานข้อมูลยา และ เวชภัณฑ์ คิดเงินค่ายา และ จัดทำบัญชีต่าง ๆ จัดทำสถิติผู้ป่วยและพิมพ์รายงานส่งกระทรวง ใช้อุปกรณ์การแพทย์ที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
อ้างอิง นวลศรี เด่นวัฒนา ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา R. M. Stair and G. W. Reynolds. Principles of Information Systems 4th edition, Course Technology Cambridge , 1999. ผศ. ดร. ประสงค์ ปราณีพลกรัง และคณะ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและกรณีศึกษา, Diamond in Business world, 2543. ผศ. ลานนา ดวงสิงห์. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ, Pearson Education, 2543. http://www.uni.net.th/~08_2543/mainmenu.html http://angsila.compsci.buu.ac.th/~stharm