ยุทธศาสตร์การกำจัดโรคไข้มาลาเรีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 7/2556 วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา – น. ณ ห้องประชุม.
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดศรีสะเกษ.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์การกำจัดโรคไข้มาลาเรีย 30 ตุลาคม 2560

จำนวนผู้ป่วย และผู้เสียชีวิตด้วยโรค ไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ 2543-2560 ราย ราย 20% ลดลง ปีงบประมาณ Source: BVBD 6 Oct 2017

จำนวนผู้ป่วยมาลาเรียแยกตามชนิดเชื้อและสัดส่วนของเชื้อ ปี 2543-2560 78% 10,829 15% 2,145 Source: BVBD 6 Oct 2017

สถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ 2560 สถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ 2560 78% P. vivax , 15% P. falciparum คนไทย 75% ผู้ชาย 64% อายุ > 15 ปี 70% 14,034 ราย ลดลง 20% จากปี 2559 ผู้ป่วยไวแวกซ์10,901 ราย Source: BVBD 6 Oct 2017

การแบ่งพื้นที่เพื่อการกำจัดโรคไข้มาลาเรีย ปี 2559 3,621 กลุ่มบ้าน 248 อ. 45 จ. 1,301,776 ปชก.ในพท.เสี่ยง 221,302 ปชก.ไปป่า ปี 2560 2,741 กลุ่มบ้าน 215 อ. 46 จ. 1,034,921 ปชก.ในพท.เสี่ยง 175,937 ปชก.ไปป่า 554 กลุ่มบ้าน 32 อำเภอ แพร่เชื้อสูง แพร่เชื้อต่ำ หยุดการแพร่เชื้อไม่เกิน 3 ปี หยุดการแพร่เชื้อเกิน 3 ปี ปี 2561 2,187 กลุ่มบ้าน 183 อ. 42 จ.

10 อันดับแรกจำนวนผู้ป่วยสะสมมากกว่าช่วงเดียวกัน สัปดาห์ที่ 1-42 จังหวัด 2559 2560 จำนวน +/- ศรีสะเกษ 279 -451 752 473 จันทบุรี 71 -2 130 59 ระยอง 17 -40 53 36 ชลบุรี 11 -44 28 มุกดาหาร 2 -15 19 นครราชสีมา 34 6 47 13 ร้อยเอ็ด -6 อุทัยธานี 3 -8 10 7 กาฬสินธุ์ -3 น่าน 4 9 5 อำเภอ 2559 2560 จำนวน +/- อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 140 -178 320 180 อ.ภูสิงห์ จ.ศรีสะเกษ 59 -88 206 147 อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 67 -126 167 100 อ.กรงปินัง จ.ยะลา 186 133 280 94 อ.แก่งหางแมว จ.จันทบุรี 24 17 80 56 อ.สุขสำราญ จ.ระนอง -2 28 อ.วังน้ำเขียว จ.นครราชสีมา 9 3 35 26 อ.เขาชะเมา จ.ระยอง 4 1 อ.ขุขันธ์ จ.ศรีสะเกษ -12 21 อ.วังเจ้า จ.ตาก 2 -11 23 ตำบล 2559 2560 จำนวน +/- ต.ตลิ่งชัน อ.บันนังสตา จ.ยะลา 133 114 288 155 ต.ดงรัก อ.ภูสิงห์ จ.ศรีสะเกษ 32 -60 135 103 ต.สะเอะ อ.กรงปินัง จ.ยะลา 37 19 102 65 ต.กันทรอม อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 22 -29 66 44 ต.ห้วยจันทร์ อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 62 -33 101 39 ต.บักดอง อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ 30 -34 36 ต.พวา อ.แก่งหางแมว จ.จันทบุรี 20 14 51 31 ต.เสาธงชัย อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 3 -26 28 ต.นาคา อ.สุขสำราญ จ.ระนอง -2 27 ต.ไพรพัฒนา อ.ภูสิงห์ จ.ศรีสะเกษ 17 -19 40 23

ยุทธศาสตร์กำจัดโรคไข้มาลาเรียฯ วิสัยทัศน์ : ไทยปลอดจากโรคไข้มาลาเรีย (Malaria elimination) ในปี 67 เป้าหมาย ปี 64 : > 95 % ของอำเภอไม่มีการแพร่เชื้อ ปี 67 : ทุกอำเภอ ปลอดจากการแพร่เชื้อ สคร. จังหวัด อำเภอ จำนวนอำเภอเป้าหมาย การจัดแบ่งพื้นที่แพร่เชื้อตามระยะการปฏิบัติงาน 2560 2561 2562 2563 2564 1 8 103 56 69 74 88 98 2 5 47 34 40 42 3 54 48 49 53 4 70 62 35 38 41 45 6 58 61 66 7 77 76 87 83 85 9 81 84 10 50 51 59 11 24 29 36 68 12 55 64 13 สคร 1 - 12 928 696 743 789 836 882 ซึ่งการดำเนินงานของแผนงานกำจัดมาเรียภายใต้งบประมาณของกรมควบคุมโรค นอกจากจะเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ของกรมในระยะ 20 ปี ระยะปฏิรูปที่กล่าวไปแล้วนะคะ อย่างไรก็ตามก็ยังคงภายใต้กรอบยุทธศาสตร์กำจัดโรคไข้มาลาเรีย ยุทธศาสตร์ชาติที่เริ่มขับเคลื่อนมาตั้งแต่ได้รับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเมือปี 2558 นะคะ การกำหนดเป้าหมายของแผนงานกำจัดฯ ก็ไปในทิศทางกับยุทธศาสตร์ชาติได้กำหนดไว้เชนกันค่ะ คือในปี 67 ทุกอำเภอจะต้องปลอดจากการแพร่เชื้อ ได้แก่ 928 อำเภอ/เขต เป้าหมายของ สคร และจังหวัดก็จะแตกต่างกันไปในแต่ละที่ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ ณ วันที่ 26 เมษายน พ.ศ.2559

จุดเน้นการกำจัดโรคไข้มาลาเรียประเทศไทย พัฒนาสื่อต้นแบบ ดำเนินการสื่อสารผ่านอาสาสมัคร สาธารณสุขในพื้นที่เสี่ยง พัฒนาชุมชนต้นแบบกำจัดโรคมาลาเรีย บูรณาการแผนงานมาลาเรียโดยใช้ MOU ระหว่างกระทรวง ในพื้นที่ ระหว่างประเทศ/ชายแดน ศึกษาวิจัยที่มุ่งเป้ากำจัดมาลาเรีย ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ &เทคโนโลยี รายงาน แจ้งเตือน สอบประวัติ และตอบโต้โดยใช้โปรแกรม Real Time (1-3-7) ขยายการตรวจรักษาใน รพ.สต. เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่แพร่เชื้อ เช่น ทหาร ป่าไม้ ชายแดน แจกมุ้งชุบสารเคมีให้กลุ่มเสี่ยงทุกกลุ่มประชากร ติดตามผลการรักษาทุกราย เฝ้าระวังเชื้อดื้อยา เร่งรัดกำจัดการแพร่เชื้อมาลาเรีย พัฒนาเทคโนโลยี มาตรการ และรูปแบบ ส่งเสริมให้ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลตนเอง สร้างความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย ปี 64 : > 95 % ของอำเภอ ไม่มีการแพร่เชื้อ เพิ่มประสิทธิภาพการกำกับ ติดตามและประเมินผลการกำจัดโรคไข้มาลาเรีย

≠ นิยามการกำจัดโรคไข้มาลาเรีย (Malaria Elimination) การดำเนินการเพื่อ: หยุดการแพร่เชื้อมาลาเรียไม่ให้เกิดขึ้นใน ท้องที่ใดๆ มิได้หมายถึงไม่ให้มีผู้ป่วยมาลาเรียหรือต้อง ทำลายยุงพาหะนำเชื้อมาลาเรียให้หมดไป จากท้องที่นั้น แต่หากมีผู้ป่วยมาลาเรียเข้ามา (Imported case) จะต้องมีมาตรการที่ดีพอ เพื่อสามารถ ค้นหา ป้องกันและหยุดการแพร่เชื้อ การกำจัดโรค (Elimination) ≠ กวาดล้างโรค (Eradication)

นิยามผู้ป่วยมาลาเรีย ผู้ป่วยมาลาเรีย หมายถึง ผู้ซึ่งมีอาการหรือไม่แสดงอาการเป็นไข้ แต่ได้รับ การตรวจเลือดและพบเชื้อมาลาเรียชนิดใดชนิด หนึ่งหรือหลายชนิด กล้องจุลทรรศน์ ชุดตรวจอย่างรวดเร็ว (Rapid Diagnostic Test หรือ RDT) วิธีทางชีวโมเลกุล เช่น PCR , LAMP

การแบ่งพื้นที่ดำเนินงานระดับกลุ่ม/หมู่บ้าน กลุ่ม/หมู่บ้านเร่งรัดกำจัดการแพร่เชื้อ (Reduction of Transmission) พื้นที่แพร่เชื้อ (A1) กลุ่ม/หมู่บ้านมีผู้ป่วยติดเชื้อในกลุ่ม/หมู่บ้าน ในปีปัจจุบัน พื้นที่หยุดการแพร่เชื้อ (A2) กลุ่ม/หมู่บ้านที่ไม่มีผู้ป่วยติดเชื้อในกลุ่ม/หมู่บ้านแล้ว แต่ยังไม่ครบ 3 ปีติดต่อกัน หมู่บ้านป้องกันการกลับมาแพร่เชื้อใหม่ (Prevention of Reintroduction) พื้นที่ไม่มีการแพร่เชื้อ-พบยุงพาหะ(B1) กลุ่ม/หมู่บ้านที่ไม่มีผู้ป่วยติดเชื้อในกลุ่ม/หมู่บ้านอย่างน้อย 3 ปีและสำรวจพบยุงพาหะหรือมีสภาพแวดล้อมเหมาะสม พื้นที่ไม่มีการแพร่เชื้อไม่พบยุงพาหะ (B2) กลุ่ม/หมู่บ้านที่ไม่มีผู้ป่วยติดเชื้อในกลุ่ม/หมู่บ้านอย่างน้อย 3 ปีและสำรวจไม่พบยุงพาหะหรือมีสภาพแวดล้อมเหมาะสม

(Foci classification) การแบ่งระยะท้องที่ (Foci classification) Active foci (A1) มีผู้ป่วยติดเชื้อในหมู่บ้านในปีปัจจุบัน Residual non active foci (A2) ไม่มีผู้ป่วยติดเชื้อในหมู่บ้าน 1-3 ปีติดต่อกัน Cleared foci but receptive (B1) ไม่มีผู้ป่วยติดเชื้อในหมู่บ้าน ติดต่อกัน 3 ปี พบยุงพาหะ Cleared foci but not receptive (B2) ไม่พบยุงพาหะ พบผู้ติดเชื้อในหมู่บ้าน ไม่ทราบระยะ 18 หมู่บ้าน 161 หมู่บ้าน 247 หมู่บ้าน 116 หมู่บ้าน 27 หมู่บ้าน 952 หมู่บ้าน 1,235 หมู่บ้าน A2: 1 ปี = 568 A2: 2 ปี = 667 A2: 3 ปี = 755 16,034 หมู่บ้าน 46,101 หมู่บ้าน

กิจกรรมการกำจัดแหล่งแพร่เชื้อโรคไข้มาลาเรียตามการจัดแบ่งพื้นที่

สรุปกิจกรรมการกำจัดแหล่งแพร่เชื้อโรคไข้มาลาเรีย ตามการจัดแบ่งพื้นที่ A1 A2 B1 B2 ค้นหาผู้ติดเชื้อ เชิงรุกกลุ่มเสี่ยง MC, รพ.สต MP, BMP รพ.สต โรงพยาบาล รักษา กินยาครบ ติดตามการรักษา ควบคุมยุงพาหะ มุ้งชุบสารเคมี พ่นสารเคมี สำรวจยุงเมื่อผู้ป่วยไม่ลด - เฝ้าระวังโรค มาตรการ 1-3-7 แจ้งเตือน สอบสวน ตอบโต้

การแจ้งเตือน การสอบสวน และ การตอบโต้ (มาตรการ 1-3-7) การแจ้งเตือน การสอบสวน และ การตอบโต้ (มาตรการ 1-3-7)

การแจ้งเตือน การสอบสวน การตอบโต้ (มาตรการ 1-3-7) การแจ้งเตือน การสอบสวน การตอบโต้ (มาตรการ 1-3-7) 1 วัน ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียจากกิจกรรมเชิงรุกและรับลงในระบบรายงาน 3 วัน การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หมู่บ้านแพร่เชื้อ A1 A2 หมู่บ้าน B1 (+ยุง) หมู่บ้าน B2 ติดเชื้อใน/ต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อในหมู่บ้าน ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. ควบคุมยุงพาหะ สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนแหล่งแพร่เชื้อ สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน เจาะเลือดทั้งกลุ่ม/หมู่บ้าน ศึกษาทางกีฎวิทยา ควบคุมยุงพาหะ หากเป็นแหล่งแพร่เชื้อใหม่ ดำเนินการเหมือน A สื่อสารความเสี่ยง 7 วัน เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง *แจ้งแหล่งแพร่เชื้อกับศูนย์ระบาด อำเภอ

มาตรการ 1 แจ้งเตือน >> สถานบริการสาธารณสุขที่ตรวจพบผู้ป่วยรายงานเข้า ระบบภายใน 1 วันนับจากวันที่ตรวจพบผู้ป่วย (รายงานเข้าระบบปกติ) รายงานผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียมาจาก: การค้นหาผู้ป่วยเชิงรุก เช่น การเจาะเลือดรอบบ้านผู้ป่วย การ เจาะเลือดทั้งหมู่บ้านเพื่อยืนยันแหล่งแพร่เชื้อ ฯลฯ การค้นหาผู้ป่วยเชิงรับ เช่น มาลาเรียคลินิก มาลาเรียชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงพยาบาลรัฐและเอกชน ทหาร ฯลฯ ข้อมูลสำคัญ: ประวัติของผู้ป่วย เช่น ชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ เพศ อายุ น้ำหนัก อาชีพ ประวัติการเดินทาง โรคประจำตัว ฯลฯ ข้อมูลการป่วยโรคไข้มาลาเรีย เช่น วันที่เริ่มป่วย อาการ วิธีการ ตรวจ ชนิดเชื้อมาลาเรียที่ตรวจพบ ชนิดยาที่รักษา สถานที่ตรวจ รักษา ฯลฯ

มาตรการ 3 สอบประวัติ/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย >> สถานบริการสาธารณสุขที่ ตรวจพบผู้ป่วย/ทีม SRRT/CDCU สอบสวนเฉพาะรายภายใน 3 วันนับ จากวันที่ตรวจพบผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย (สำเนารายงานสรุปส่งนคม.) สอบประวัติ/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย: ดำเนินการทุกราย (ไทย ต่างชาติ 1-2) ข้อมูลสำคัญ: ประวัติการเดินทาง วันเริ่มมีอาการ/ประวัติการรักษา สถานที่ป่วยอาศัยและเคยอาศัย ประวัติการป่วยเป็นไข้มาลาเรีย/การป้องกันตัวเอง ตัดสินชนิดการติดเชื้อ: ติดเชื้อในหมู่บ้าน/นอกหมู่บ้าน/นอกประเทศ ฯลฯ ต้องระบุแหล่งแพร่เชื้อทุกราย

การตัดสินชนิดการติดเชื้อ A หมายถึง ติดเชื้อในกลุ่ม/หมู่บ้าน B* หมายถึง ติดเชื้อจากกลุ่ม/หมู่บ้านอื่น Bx หมายถึง ติดเชื้อ ต่าง กลุ่ม/ หมู่บ้าน By หมายถึง ติดเชื้อ ต่าง ตำบล Bz หมายถึง ติดเชื้อ ต่าง อำเภอ Bo หมายถึง ติดเชื้อ ต่าง จังหวัด Bf หมายถึง ติดเชื้อ นอก ประเทศ/ ต่างประเทศ F หมายถึง ไม่สามารถตัดสินการติดเชื้อ ได้/ไปสอบประวัติแล้วไม่พบตัว A Bx By Bz Bo Bf *กรณีตัดสิน B ให้ระบุแหล่งแพร่เชื้อทุกราย

มาตรการ 7 ชุดกิจกรรมการตอบโต้ ขึ้นอยู่กับ: ตอบโต้ >> ทีม SRRT/CDCU ดำเนินการกำจัด แหล่งแพร่เชื้อภายใน 7 วันนับจากวันที่ตรวจพบ ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย (สำเนารายงานสรุปส่งศตม.) ชุดกิจกรรมการตอบโต้ ขึ้นอยู่กับ: สถานะของกลุ่ม/หมู่บ้าน (phase) – A1/A2/B1/B2 ชนิดการติดเชื้อจากผลการสอบประวัติ/สอบสวน เฉพาะราย (case classification) – ติดเชื้อใน/นอก กลุ่ม/หมู่บ้าน เน้นดำเนินการในกลุ่ม/หมู่บ้าน A1/A2 และ B1 ทุก ราย

การแจ้งเตือน การสอบสวน การตอบโต้ (มาตรการ 1-3-7) - A1/A2 1 วัน ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียจากกิจกรรมเชิงรุกและรับลงในระบบรายงาน 3 วัน การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หมู่บ้านแพร่เชื้อ A1 A2 หมู่บ้าน B1 (+ยุง) หมู่บ้าน B2 ติดเชื้อใน/ต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อในหมู่บ้าน ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. ควบคุมยุงพาหะ สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนแหล่งแพร่เชื้อ สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน เจาะเลือดทั้งกลุ่ม/หมู่บ้าน ศึกษาทางกีฎวิทยา ควบคุมยุงพาหะ หากเป็นแหล่งแพร่เชื้อใหม่ ดำเนินการเหมือน A สื่อสารความเสี่ยง 7 วัน เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง *แจ้งแหล่งแพร่เชื้อกับศูนย์ระบาด อำเภอ

การแจ้งเตือน การสอบสวน การตอบโต้ (มาตรการ 1-3-7) - B1 imported 1 วัน ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียจากกิจกรรมเชิงรุกและรับลงในระบบรายงาน 3 วัน การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หมู่บ้านแพร่เชื้อ A1 A2 หมู่บ้าน B1 (+ยุง) หมู่บ้าน B2 ติดเชื้อใน/ต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อในหมู่บ้าน ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. ควบคุมยุงพาหะ สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนแหล่งแพร่เชื้อ สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน เจาะเลือดทั้งกลุ่ม/หมู่บ้าน ศึกษาทางกีฎวิทยา ควบคุมยุงพาหะ หากเป็นแหล่งแพร่เชื้อใหม่ ดำเนินการเหมือน A สื่อสารความเสี่ยง 7 วัน เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง *แจ้งแหล่งแพร่เชื้อกับศูนย์ระบาด อำเภอ

การแจ้งเตือน การสอบสวน การตอบโต้ (มาตรการ 1-3-7) - B1 indigenous 1 วัน ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียจากกิจกรรมเชิงรุกและรับลงในระบบรายงาน 3 วัน การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หมู่บ้านแพร่เชื้อ A1 A2 หมู่บ้าน B1 (+ยุง) หมู่บ้าน B2 ติดเชื้อใน/ต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อในหมู่บ้าน ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. ควบคุมยุงพาหะ สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนแหล่งแพร่เชื้อ สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน เจาะเลือดทั้งกลุ่ม/หมู่บ้าน ศึกษาทางกีฎวิทยา ควบคุมยุงพาหะ หากเป็นแหล่งแพร่เชื้อใหม่ ดำเนินการเหมือน A สื่อสารความเสี่ยง 7 วัน เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง *แจ้งแหล่งแพร่เชื้อกับศูนย์ระบาด อำเภอ

การแจ้งเตือน การสอบสวน การตอบโต้ (มาตรการ 1-3-7) – B2 indigenous 1 วัน ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียจากกิจกรรมเชิงรุกและรับลงในระบบรายงาน 3 วัน การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หมู่บ้านแพร่เชื้อ A1 A2 หมู่บ้าน B1 (+ยุง) หมู่บ้าน B2 ติดเชื้อใน/ต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อในหมู่บ้าน ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. ควบคุมยุงพาหะ สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนแหล่งแพร่เชื้อ สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน เจาะเลือดทั้งกลุ่ม/หมู่บ้าน ศึกษาทางกีฎวิทยา ควบคุมยุงพาหะ หากเป็นแหล่งแพร่เชื้อใหม่ ดำเนินการเหมือน A สื่อสารความเสี่ยง 7 วัน เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง *แจ้งแหล่งแพร่เชื้อกับศูนย์ระบาด อำเภอ

การแจ้งเตือน การสอบสวน การตอบโต้ (มาตรการ 1-3-7) – B2 imported 1 วัน ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียจากกิจกรรมเชิงรุกและรับลงในระบบรายงาน 3 วัน การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หมู่บ้านแพร่เชื้อ A1 A2 หมู่บ้าน B1 (+ยุง) หมู่บ้าน B2 ติดเชื้อใน/ต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ติดเชื้อในหมู่บ้าน ติดเชื้อต่างหมู่บ้าน* ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. ควบคุมยุงพาหะ สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน ค้นหาผู้ป่วย - เจาะเลือด 50 ราย/10 หลังคาเรือนรอบบ้านผู้ป่วย ในรัศมี 1 กม. สื่อสารความเสี่ยง สอบสวนแหล่งแพร่เชื้อ สอบสวนซ้ำเพื่อยืนยัน เจาะเลือดทั้งกลุ่ม/หมู่บ้าน ศึกษาทางกีฎวิทยา ควบคุมยุงพาหะ หากเป็นแหล่งแพร่เชื้อใหม่ ดำเนินการเหมือน A สื่อสารความเสี่ยง 7 วัน เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง *แจ้งแหล่งแพร่เชื้อกับศูนย์ระบาด อำเภอ

การกำจัดโรคไข้มาลาเรีย 2560-2564 GOVERNMENT MoPH-UC DDC MoD MoE SSF-M 30 Sept 60 END!!! RAI2E Continued to RAI2E Start Jan 2561-2563 USAID LLIN for RAI2E MIS PHER 77 ล้านบาท 815 ล้านบาท 150 ล้านบาท

กลไกการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การกำจัดโรคไข้มาลาเรียประเทศไทย หน่วยดำเนินการในพื้นที่ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ* หน่วยบริการสุขภาพ ภาครัฐและเอกชน องค์กรภาคประชาสังคม ประสานงาน ควบคุมกำกับ กลไกการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การกำจัดโรคไข้มาลาเรียประเทศไทย *พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ภายใต้แผนปฏิบัติการโรคติดต่อ คณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัด* คณะกรรมการอำนวยการกำจัดมาลาเรียแห่งชาติ คณะกรรมการบริหารกำจัดมาลาเรียแห่งชาติ คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ที่ 3 คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ที่ 2 คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ที่ 1 คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ที่ 4 คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน องค์กรเอกชน กระทรวงอื่นๆ สำนักปลัดกระทรวงฯ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

End Malaria For Good…