การบูรณาการการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคมของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา วิทยากรแกนนำ เพื่อพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. รุ่นที่ 2.
Advertisements

1. ภาวะ ผู้นำ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ ยุทธศาส ตร์ 1) วิเคราะห์ สังเคราะห์ (SWOT) 2) กำหนดวิสัยทัศน์, พันธกิจ 3) นวัตกรรม BSC, KM 4) การมีส่วนร่วม.
โครงการ ประชุมเชิง ปฏิบัติการ ขยายเครือข่าย เรื่อง... “ การจัดระบบบริการ แบบครบวงจร ( o ne s top c risis c enter) สำหรับเด็กและสตรีที่ได้รับ ความรุนแรง.
Smart to Re-Acc :common pitfalls part I นพ. สมคิด เลิศสินอุดม 6 กรกฎาคม 2559.
พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4.
นำเสนอโดย เกศมณี สิทธิศิลป์ และคณะทำงาน
Report การแข่งขัน.
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
ทีมงานแก้ปัญหาร้านค้าที่ส่งผลกับกำลังการผลิตของผู้รับเหมา
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
Police ilertu Phase 1 ระบบแจ้งขอความช่วยเหลือผ่าน Police ilertu ประชาชน / ชาวต่างชาติ / นักท่องเที่ยว ตำรวจสายตรวจ บนพื้นที่ เจ้าหน้าที่วิทยุ ที่
โปรแกรม GG2 Prompt.
สถานการณ์ การค้ามนุษย์
โดย นางเพชราภรณ์ คำเอี่ยมรัตน์
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
Line สำหรับผู้สูงอายุ
มรสุม แนวปะทะอากาศ และพายุฝนฟ้าคะนอง
ขั้นตอนการร้องเรียน.
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
การพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC)
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
สัมมนาเครือข่ายวิเทศสัมพันธ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2560
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
ประธานคณะทำงานเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน
เข้าสู่วาระการประชุม
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับการดำเนินงานOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
ศิลปะการทำงานอย่างมีความสุข
การสัมมนา สถานการณ์ แนวทางและ แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2557
สิทธิรับรู้ของประชาชน
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย... โกมินทร์ อินรัสพงศ์
วิธีการเขียน Business Model Canvas
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
การประชุมหารือระหว่าง
Performance Agreement : PA ปี 2560
เรื่องอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
นโยบาย รมว สธ ข้อที่ 3 “เร่งรัดมาตรการสุขภาพดี โดยมีเป้าหมายลดอัตราป่วยตายและผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือดสมองและมะเร็ง”
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
นิเทศงานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ ณ ห้องประชุม บก.ยศ.ทร. ชั้น 2
โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความโดดเด่น
แนวทางและแผนการดำเนินงานฯ
MR. PAPHAT AUPAKA UPDATE PICTURE MEETING ROOM SYSTEM
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2561
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
DMA-Monitor ระบบติดตามผลและแจ้งเตือนความผิดปกติ
บทที่ 8 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
แรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์
E-SERVICE.
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบูรณาการการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคมของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 29/12/61 การบูรณาการการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคมของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม นางสาวแรมรุ้ง สุบรรณเสนีย์ ผู้อำนวยการศูนย์ช่วยเหลือสังคม สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

1. การจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคม ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ลงนามในคำสั่งจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคม สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เมื่อวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เพื่อทำหน้าที่เป็นศูนย์ประสาน สนับสนุน ให้คำปรึกษา แนะนำการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคมทั่วประเทศ ตลอดจนทำหน้าที่บริหารจัดการข้อมูล และ พัฒนาระบบ เครื่องมือ กลไก บุคลากร กระบวนงาน และการดำเนินงาน Hotline 1300

ความเป็นมาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สืบเนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ส่งผลให้เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ ได้รับผลกระทบจากปัญหาต่างๆ เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะปัญหาสำคัญใน 4 เรื่อง ได้แก่ 1. การตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) 2. การค้ามนุษย์ 3. การใช้แรงงานเด็ก 4. การกระทำความรุนแรง ต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ ซึ่งปัญหาดังกล่าวนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นเป็นลำดับ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและการพัฒนาประเทศชาติโดยรวม

สถานการณ์ความรุนแรงของปัญหา - วัยรุ่นไทยอายุต่ำกว่า 20 ปี คลอดลูกเฉลี่ยวันละ 370 คน - มีเพศสัมพันธ์เร็วขึ้น เฉลี่ยอายุ 15-19 ปี - TIP Report ประจำปี 2014 ไทยถูกปรับลดให้อยู่ในบัญชีกลุ่มTier 3 - ถูกระบุว่า สินค้าที่ผลิตจากประเทศไทยมีการใช้แรงงานเด็ก ได้แก่ สินค้ากุ้ง, ปลา, อ้อย, เครื่องนุ่งห่ม, สื่อลามก - หญิงไทย อายุ 15-59 ปี ถูกล่วงละเมิดทางเพศโดยคู่ของตนเองสูงเป็น ลำดับที่ 7 ของโลก - ประเทศไทยอยู่ในลำดับที่ 2 ของโลก ที่มีความเชื่อว่าสามีทำร้ายภรรยา เป็นเรื่องยอมรับได้ ตั้งครรภ์ไม่พร้อม ค้ามนุษย์ แรงงานเด็ก ความรุนแรงฯ

ความเป็นมาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สร้างระบบสารสนเทศรองรับการให้บริการตั้งแต่รับแจ้งเหตุ การช่วยเหลือ ส่งต่อ จนถึงยุติการให้บริการ เชื่อมโยงกันทั้งระบบ จัดทำระบบการให้บริการในลักษณะศูนย์เบ็ดเสร็จ บูรณาการให้บริการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 4 ประเด็นปัญหา (1.ตั้งครรภ์ไม่พร้อม(คุณแม่วัยใส) 2.การค้ามนุษย์ 3.แรงงานเด็ก 4.ความรุนแรงฯ) 9 เมษายน 2556 เปิดตัว พม.เป็นเจ้าภาพประสานหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง

8

จำกัด กระบวนการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ในภาพรวม ปัญหา ช่องทางการติดต่อ บูรณาการช่วยเหลือในภาวะวิกฤติ การช่วยเหลือภายหลังภาวะวิกฤติ ติดตาม ประเมินผล แจ้งที่หน่วยรับเรื่อง 22,000 หน่วย ทั่วประเทศ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด/ บ้านพักเด็กและครอบครัว/ สถานสงเคราะห์ : คุ้มครองสวัสดิภาพ จัดหาที่พักชั่วคราวาว การคุ้มครองพิทักษ์สิทธิและการดำเนินการตามกฎหมาย พบเห็น/ ประสบปัญหา โรงพยาบาล : ดูแลสุขภาพ ตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) จำกัด ติดตามผล รายงานผล จัดเก็บข้อมูล Hot Line:1300 24 ชั่วโมง ฟื้นฟู เยียวยา ด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม สถานีตำรวจ : รับแจ้งความ สืบสวนดำเนินคดี สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน : นำเด็กออกจากสถานประกอบการและ ให้การช่วยเหลือ ค้ามนุษย์ Website www.osccthailand.go.th แรงงานเด็ก หน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน การช่วยเหลืออื่นๆ ตามสภาพปัญหา ความรุนแรง ต่อเด็กและสตรี ฯ Mobile Application “OSCC 1300” แจ้งเตือน แจ้งเตือน แจ้งเตือน แจ้งเตือน เชื่อมโยงระบบการให้บริการ แจ้งเตือนถึงหน่วยงานผู้รับผิดชอบ เมื่อผู้ประสบปัญหายังไม่ได้รับบริการหรือบริการล่าช้า และปกป้องข้อมูลบุคคล โดยระบบสารสนเทศ ICT 9

07/08/56 Front Line 1 หมายถึง ช่องทางที่ผู้ประสบปัญหาหรือผู้พบเหตุ/เบาะแส สามารถแจ้งเหตุ/เบาะแส 4 ปัญหาหลักของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ได้โดยสะดวก รวดเร็ว โดยสามารถแจ้งได้ 4 ช่องทาง คือ - แจ้งด้วยตนเองที่หน่วยรับแจ้งเหตุ มากกว่า 20,000 แห่งทั่วประเทศ - สายด่วน 1300 ตลอด 24 ชั่วโมง - เว็บไซต์ www.osccthailand.go.th - Mobile Application ให้ภาพรวมโดยย่อของงานนำเสนอ อธิบายโฟกัสหลักของงานนำเสนอและเหตุใดงานนำเสนอนี้จึงมีความสำคัญ แนะนำหัวข้อหลักแต่ละหัวข้อ เมื่อต้องการให้แนวทางแก่ผู้ฟัง คุณสามารถ เล่นภาพนิ่งของภาพรวมนี้ ซ้ำได้ตลอดทั้งการนำเสนอ โดยเน้นหัวข้อเฉพาะที่คุณจะอภิปรายถัดไป ศูนย์ประชาบดี 1300

Mobile 21,844

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ การประสานความร่วมมือจัดตั้งหน่วยรับแจ้งเหตุ/ เบาะแส (Front Line 1) 416 แห่ง 10,611 แห่ง 174 แห่ง 1,471 แห่ง 8,729 แห่ง 77 แห่ง 237 แห่ง 128 แห่ง 1 แห่ง รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 9,750 แห่ง รพ.ชุมชน (ระดับอำเภอ) จำนวน 734 แห่ง รพ.ศูนย์ /ทั่วไป (ระดับจังหวัด) จำนวน 75 แห่ง รพ.ในสังกัดกรมต่างๆ ได้แก่ กรมการแพทย์,กรมอนามัย ,กรมควบคุมโรค และกรมสุขภาพจิต กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม กระทรวงศึกษาธิการ 21,844 แห่ง กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา 12

07/08/56 Front Line 2 หมายถึง หน่วยงานที่มีบทบาทและภารกิจหลักในการให้ความช่วยเหลือในแต่ละประเด็นปัญหา ภายใต้สังกัดกระทรวง/ หน่วยงานระดับประเทศ ที่รับผิดชอบ 4 ประเด็นปัญหาหลัก 1.กระทรวงสาธารณสุข : การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น 2.สำนักงานตำรวจแห่งชาติ : การค้ามนุษย์ 3.กระทรวงแรงงาน : การใช้แรงงานเด็ก 4.กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ : การใช้ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ ให้ภาพรวมโดยย่อของงานนำเสนอ อธิบายโฟกัสหลักของงานนำเสนอและเหตุใดงานนำเสนอนี้จึงมีความสำคัญ แนะนำหัวข้อหลักแต่ละหัวข้อ เมื่อต้องการให้แนวทางแก่ผู้ฟัง คุณสามารถ เล่นภาพนิ่งของภาพรวมนี้ ซ้ำได้ตลอดทั้งการนำเสนอ โดยเน้นหัวข้อเฉพาะที่คุณจะอภิปรายถัดไป ศูนย์ประชาบดี 1300

กระทรวงสาธารณสุข Front line 2 ตั้งครรภ์ไม่พร้อม โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์ กรมอนามัย และกรมควบคุมโรค

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Front line 2 ค้ามนุษย์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สถานีตำรวจนครบาล สถานีตำรวจภูธรตำบล/อำเภอ/จังหวัด กองกำกับการ 1-6 กองบังคับการ ปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับ การค้ามนุษย์

กระทรวงแรงงาน Front line 2 แรงงานเด็ก ศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือแรงงานหญิงและเด็ก ณ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด สำนักคุ้มครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน กลุ่มงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พื้นที่ 1-10 (กทม.)

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ Front line 2 การกระทำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัด ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรง ในครอบครัว (กทม.)

ระบบสารสนเทศของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยบริษัท ทีโอที จำกัดมหาชน ได้รับมอบหมายให้สร้างระบบสารสนเทศของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคมซึ่งมีชื่อว่า “ OSCC Application” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการดำเนินการช่วยเหลือและประสานส่งต่อบริการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือผู้ปัญหาทางสังคม กระทรวง พม. เป็น เจ้าภาพจัดอบรมการใช้ระบบสารสนเทศ OSCC Application ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และระบบได้เปิดใช้งาน พร้อมกันทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2556

ระบบสารสนเทศของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (ต่อ) OSCC Application ประกอบด้วยระบบต่างๆ ดังนี้ 1. ระบบบันทึกข้อมูลการแจ้งเหตุเบาะแสและส่ง ต่อความช่วยเหลือ มีกระบวนการทำงาน ได้แก่ - เมื่อมีการแจ้งเหตุเบาะแสผ่าน ๔ ช่องทาง โดยหน่วยงานรับแจ้งหรือ ผู้ประสบปัญหาเข้าไปกรอกข้อมูลแจ้งเหตุเบาะแสในระบบ OSCC Application เพื่อขอรับการช่วยเหลือ ระบบจะบันทึกข้อมูลเรื่องที่รับแจ้ง และเมื่อเลือกประเด็นปัญหาใน ๔ ปัญหาพร้อมระบุพื้นที่ ระบบจะส่งข้อมูลดังกล่าวเพื่อขอความช่วยเหลือไปยังหน่วยงานเจ้าภาพหลักที่ให้บริการตามพื้นที่ที่ระบุ

ระบบสารสนเทศของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (ต่อ) 2. ระบบแจ้งเตือน (Alarm) ถูกสร้างขึ้นเพื่อรองรับคุณภาพของการให้บริการในกรณีที่ ผู้ประสบปัญหาสังคมหรือผู้แจ้งเหตุเบาะแสไม่สามารถเข้าถึงบริการหรือการให้บริการมีความล่าช้า ไม่เป็นไปตามระดับมาตรฐานการให้บริการ (Services Level Agreement = SLA) ที่กำหนด ระบบจะแจ้งเตือนผู้ปฏิบัติงานและผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ระดับหน่วยงานจนถึงกระทรวงต้นสังกัด ผ่าน ๓ ช่องทาง คือ (1) ผ่านทางระบบ OSCC Application (2) ผ่านข้อความทางโทรศัพท์มือถือ (SMS) และ (3) ผ่านทางอีเมล์

ระบบสารสนเทศของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (ต่อ) 3. ระบบรายงานสถิติข้อมูล (Report) เมื่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา รวมถึง ผู้ประสบปัญหาและประชาชนที่แจ้งเหตุเบาะแส ได้บันทึกข้อมูลในระบบ OSCC Application ทั้งข้อมูลเบื้องต้นเพื่อขอรับความช่วยเหลือ และข้อมูลการให้บริการ ระบบจะทำการแสดงผลการดำเนินงาน ดังนี้ 3.1 สถิติข้อมูลตามประเภทปัญหา ๔ ปัญหา และสถานะการให้บริการ ได้แก่ สถานะอยู่ระหว่างการคัดกรอง สถานะอยู่ระหว่างดำเนินการ และสถานะยุติเรื่อง โดยแยกตามพื้นที่และในภาพรวมของประเทศ รวมทั้งตามระยะเวลาที่กำหนด ได้แก่ รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน รายไตรมาส และรายปี 3.2 แสดงประสิทธิภาพการให้บริการของผู้ปฏิบัติงานและหน่วยงาน โดยประมวลผลจากข้อมูลเรื่องที่ให้บริการตามกรอบระยะเวลาและยุติเรื่องได้

สถิติการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม 4 ประเด็นปัญหา รวมเรื่องทั้งหมด 7,256 เรื่อง

แผนการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ปีงบประมาณ 2558 ผลการหารือได้พบปัญหาของการใช้ระบบ OSCC Application และการให้บริการส่งต่อ โดยศูนย์ช่วยเหลือสังคม ได้นำผลการหารือมากำหนดเป็นแผนการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2558 ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือของ ทุกหน่วยงานในการขับเคลื่อนร่วมกัน ดังนี้

แผนการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ปีงบประมาณ 2558 (ต่อ) 2.1 การพัฒนากระบวนงาน (Work flow) เดือนมกราคม 2558 2.2 การพัฒนาระบบสารสนเทศและเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลของแต่ละหน่วยงานกำหนดการเดือนกุมภาพันธ์ – กรกฎาคม 2558

แผนการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ปีงบประมาณ 2558 (ต่อ) 3. การประชุมเพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์และคำของบประมาณ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ปี 2559 แบบบูรณาการร่วมกันของ 4 กระทรวง เดือนมกราคม 2558 4. การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เดือนกุมภาพันธ์ 2558 5. การติดตามและถอดบทเรียนการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคมระดับพื้นที่ 2 ครั้ง เดือนมีนาคม 2558 และเดือนกันยายน 2558 6.การขับเคลื่อนกลไกคณะกรรมการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ระดับจังหวัด โดยจัดสรรงบประมาณให้ พมจ. ทุกจังหวัดจัดประชุมคณะกรรมการ

แผนการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ปีงบประมาณ 2558 (ต่อ) รัฐมนตรีกระทรวงที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการ คณะกรรมการบริหารจัดการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม โดยปลัดกระทรวง พม. เป็นประธาน ปลัดกระทรวงที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ

การพัฒนาประสิทธิภาพสายด่วน 1300 ปรับระบบสายด่วน 1300 โดยการถ่ายโอนสายจากต่างจังหวัดทุกจังหวัด มาไว้ที่กรุงเทพฯ ทั้งหมด พร้อมทั้งพัฒนา (Upgrade) ตู้สาขาโทรศัพท์ ให้สามารถรองรับสายโทรศัพท์จำนวน 30 คู่สาย จัดจ้างเจ้าหน้าที่รับโทรศัพท์รองรับการให้บริการ ปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 58 คน เพื่อให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง และจัดอบรมพัฒนาศักยภาพและ ทักษะการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์แบบมืออาชีพ จัดหาเจ้าหน้าที่ให้บริการภาษาต่างประเทศ (ล่าม) 5 ภาษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ พม่า กัมพูชา เวียดนาม และจีน จัดหาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเพื่อให้คำปรึกษาแนะนำ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านกฎหมาย การตั้งครรภ์ไม่พร้อม การค้ามนุษย์ การบังคับใช้แรงงาน และการกระทำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ

โครงสร้างการประสานส่งต่อจาก Hotline 1300 ไปยัง Front line 2 ส่งข้อมูลผ่านระบบไปยัง FL2 ตั้งครรภ์ไม่พร้อม สายด่วน 1300 รับแจ้ง โทรศัพท์ประสานไปยังร.พ. ที่เป็น FL 2 บันทึกข้อมูล สู่ระบบ OSCC Application ส่งข้อมูลผ่านระบบไปยัง FL2 ค้ามนุษย์ โทรศัพท์ประสานสถานีตำรวจ / ปคม.ที่เป็น FL 2 แรงงานเด็ก ส่งข้อมูลผ่านระบบไปยัง FL2 โทรศัพท์ประสาน สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด / กลุ่มงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 10 แห่ง ที่เป็น FL 2 หมายเหตุ กรณีอยู่ในภาวะวิกฤตโทรประสานบ้านพักเด็กและครอบครัว

โครงสร้างการประสานส่งต่อจาก Hotline 1300 ไปยัง Front line 2 สายด่วน 1300 รับแจ้ง บันทึกข้อมูลสู่ระบบ OSCC Application ปัญหาความรุนแรงฯ กรุงเทพมหานคร ส่วนภูมิภาค ส่งข้อมูลผ่านระบบไปยัง FL2 ส่งข้อมูลผ่านระบบไปยัง FL2 โทรศัพท์แจ้งศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัว เพื่อติดตามผู้ประสบปัญหาทางสังคมในพื้นที่ โทรศัพท์แจ้งสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พมจ.)เพื่อติดตาม ผู้ประสบปัญหาทางสังคมในพื้นที่

29/12/61 จากการบูรณาการการทำงานของกระทรวงที่เกี่ยวข้อง โดยนำระบบสารสนเทศมารองรับการทำงานร่วมกัน ถือเป็นสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นในระบบราชการ เป้าหมายของการทำงาน คือ ประชาชนเข้าถึงบริการ และทำงานอย่างมีคุณภาพ เป้าหมายในอนาคต มุ่งไปยัง 2 มิติ ได้แก่ 1. ระบบการทำงานราชการเปลี่ยนแปลงไปสู่การทำงานแบบบูรณาการทำงานร่วมกันทั้งหมด 2. การให้ความช่วยเหลือหรือระบบการทำงานไม่ได้หยุดการช่วยเหลือแค่ 4 ประเด็น แต่จะต้องพัฒนาไปยังประเด็นอื่นๆ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม จะบรรลุเป้าหมายและเกิดผลสัมฤทธิ์ได้อย่างยั่งยืน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนทั้งจากระดับนโยบายจนถึงระดับผู้ปฏิบัติงานของทุกกระทรวง เพื่อให้การขับเคลื่อน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

ศูนย์ช่วยเหลือ สังคม กระทรวงการพัฒนา สังคม และความ มั่นคงของมนุษย์ จบการนำเสนอ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือ สังคม กระทรวงการพัฒนา สังคม และความ มั่นคงของมนุษย์ จัดทำโดย : OSCC 1300 ข้อมูลวันที่ 3 พฤศจิกายน 2557