งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม

2 ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เป้าหมายการดำเนินงาน : ร้อยละ 30 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงมาตรการ สำนักโรคจากจากประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1. ถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ให้แก่ สคร. ทราบ 2. กำกับ ติดตาม รวบรวมข้อมูล สรุปผลการดำเนินงานภายใต้ตัวชี้วัดเสนอผู้บริหาร 1. ถ่ายทอดการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ให้แก่ สสจ. ทราบ 2. ส่งเอกสาร “พส.1” และ “พส.2” แบบอิเล็กทรอนิกส์ไฟล์ ให้แก่ สสจ. 3. กำกับ ติดตาม รวบรวมข้อมูลตามแบบฟอร์ม ส่งให้แก่ สำนักโรค EnvOcc. ตามระยะเวลาที่กำหนด 1. ลงข้อมูลในแบบฟอร์ม “พส.1” ส่งให้แก่ สคร. ภายในไตรมาสที่ 1 2. ดำเนินการกิจกรรมการดูแลสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงตามกรอบกิจกรรมที่กำหนด 3. ลงข้อมูลผลการดำเนินงานลงในแบบฟอร์ม “พส.2” และส่งให้แก่ สคร. ทุกสิ้นไตรมาสที่ 2, 3 และ 4

3 นิยามคำสำคัญ มลพิษสิ่งแวดล้อม หมายถึง
ภาวะที่มีสารมลพิษ (Pollutants) หรือภาวะแปลกปลอมอื่น ๆ ปะปนในสิ่งแวดล้อมในระดับที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค เป็นภาวะที่ผิดปกติไปจากสภาพแวดล้อมธรรมชาติเดิม เกินขีดมาตรฐานที่ชีวิตจะทนได้ ซึ่งได้แก่ - กรณีสารเคมี หรือของเสียที่ถูกปลดปล่อย การรั่วไหลจากการประกอบกิจการแล้วส่งผลกระทบหรืออาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง ทั้งในสภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน - มลพิษจากปัญหาขยะ - มลพิษสารเคมีและสารอันตรายจากการประกอบกิจการเหมืองแร่ อุตสาหกรรมหนัก - มลพิษทางอากาศ อันเกิดจากหมอกควัน การประกอบการโรงไฟฟ้าชีวมวล โรงไฟฟ้าถ่านหิน ฝุ่นละอองจากโรงโม่หิน/ชุมชนอุตสาหกรรมหินทราย - มลพิษที่เกิดจากพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและนิคมอุตสาหกรรม

4 นิยามคำสำคัญ ประชาชนกลุ่มเสี่ยง หมายถึง
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่แหล่งมลพิษสิ่งแวดล้อมที่อาจจะได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ ในพื้นที่เป้าหมาย 46 จังหวัด (Hot zone) การดูแลสุขภาพและป้องกันโรคและภัยสุขภาพ หมายถึง การดำเนินงานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น - การจัดทำข้อมูลความเสี่ยงเกี่ยวกับมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ - การดำเนินงานการคัดกรองและเฝ้าระวังสถานการณ์สุขภาพ - การตรวจวินิจฉัย การรักษา และการส่งต่อ - การสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - การมีส่วนร่วมในกระบวนการบูรณาการดำเนินงานในรูปแบบต่างๆ กับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน ผู้แทนภาคประชาชน ในพื้นที่

5 Flow chart การดำเนินงาน
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - ถ่ายทอดตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน - กำกับ สนับสนุน ติดตาม รวบรวมข้อมูลจาก สคร. สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) - ถ่ายทอดตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน ให้แก่ สสจ. - ส่งแบบฟอร์ม “พส.1” และ “พส.2” ให้ สสจ. - กำกับ สนับสนุน ติดตาม รวบรวมข้อมูลจาก สสจ. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำรวจและลงข้อมูลสิ่งคุกคามและจำนวนประชาชนกลุ่มเสี่ยง ดำเนินการดูแลและเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ แบบฟอร์ม “พส.1” แบบฟอร์ม “พส.2” ส่งให้ สคร. ภายใน 20 ธ.ค.59 ส่งให้ สคร. ภายในวันที่ 20 ของทุกสิ้นไตรมาส ที่ 2 3 และ 4

6 --------------------------------------------------------------
แบบ พส.1 แบบสำรวจข้อมูลและกำเนิดสิ่งคุกคามและประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม “พส.1 : แบบสำรวจข้อมูลแหล่งกำเนิดสิ่งคุกคามและประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม” เป็นแบบเก็บข้อมูลสิ่งคุกคาม โดยเก็บข้อมูล - มลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม/สถานประกอบการ ที่ยังเป็นปัญหาในปัจจุบัน หรืออาจเป็นปัญหาในอนาคต - มลพิษจากการประกอบกิจการที่เคยมีอุบัติเหตุและเหตุฉุกเฉิน และส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยรอบ ให้ลงข้อมูลหน่วยบริการสุขภาพเฉพาะที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยง ทุกหน่วยบริการ ข้อมูลประเด็นขยะ ไม่ต้องลงรายงานในแบบ “พส.1”

7 ผังแนวทางการให้ข้อมูลในพื้นที่เสี่ยงทางสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม
จังหวัด (Hot zone) รพศ./รพท. ลักษณะการระบุพื้นที่เสี่ยง อำเภอ (ที่มีประเด็น) อำเภอ (ที่ไม่มีประเด็น) อำเภอ (ที่มีประเด็น) รพช. รพช. รพช. ตำบล (ที่มีประเด็น) ตำบล (ที่มีประเด็น) ตำบล (ที่ไม่มีประเด็น) ตำบล (ที่ไม่มีประเด็น) ตำบล (ที่ไม่มีประเด็น) ตำบล (ที่มีประเด็น) ตำบล (ที่มีประเด็น) รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต.

8 เป้าหมายพื้นที่เสี่ยง ปี 2560 (46 จังหวัด) 1.3 พื้นที่ที่มีปัญหาขยะ
1. พื้นที่เสี่ยงจากมลพิษ สารเคมีและสารอันตราย พื้นที่เสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวังและรายชื่อจังหวัดที่มีพื้นที่เสี่ยง 1.1. พื้นที่เหมืองทอง 1.2 พื้นที่เหมืองเก่า 1.3 พื้นที่ที่มีปัญหาขยะ 1.4 เหมืองโปแตช เขต 2 เพชรบูรณ์ พิษณุโลก เขต 3 พิจิตร เขต 8 เลย เขต 2 ตาก (แคดเมียม) เขต 3 *อุทัยธานี (สารหนู) เขต 5 กาญจนบุรี (ตะกั่ว) *สุพรรณบุรี (สารหนู) เขต 11 นครศรีธรรมราช (สารหนู) เขต 1 ลำพูน เขต 2 พิษณุโลก เขต 3 *นครสวรรค์ เขต 4 สระบุรี เขต 5 *เพชรบุรี กาญจนบุรี เขต 6 ปราจีนบุรี สมุทรปราการ เขต 7 ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ * ขอนแก่น เขต 8 อุดรธานี เขต 9 *นครราชสีมา บุรีรัมย์ เขต 10 มุกดาหาร อุบลราชธานี เขต 11 *สุราษฎร์ธานี นครศรีฯ เขต 12 สงขลา เขต 13 พระนครศรีอยุธยา เขต 8 อุดรธานี เขต 9 ชัยภูมิ หมายเหตุ : * คือ จังหวัดที่เพิ่มจากเป้าหมายปี 2559

9 เป้าหมายพื้นที่เสี่ยง ปี 2560 (46 จังหวัด)
2. พื้นที่มีมลพิษทางอากาศ พื้นที่เสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวัง รายชื่อจังหวัดที่มีพื้นที่เสี่ยง 2.1 ฝุ่นหน้าพระลาน เขต 4 สระบุรี 2.2 ฝุ่นหิน เขต 6 ชลบุรี เขต 9 นครราชสีมา สุรินทร์ 2.3 หมอกควัน เขต 1 เชียงใหม่ เชียงราย แพร่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา น่าน ลำปาง เขต 2 ตาก 2.4 มลพิษอากาศจากโรงไฟฟ้าชีวมวล เขต 7 ร้อยเอ็ด เขต 9 บุรีรัมย์ สุรินทร์ นครราชสีมา หมายเหตุ : * คือ จังหวัดที่เพิ่มจากเป้าหมายปี 2559

10 เป้าหมายพื้นที่เสี่ยง ปี 2560 (46 จังหวัด)
3. พื้นที่ที่คาดว่าจะมีปัญหาสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ พื้นที่เสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวัง รายชื่อจังหวัดที่มีพื้นที่เสี่ยง 3.1 พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ เขต 1 เชียงราย (อ.แม่สาย/อ.เชียงแสน/อ.เชียงของ) เขต 2 ตาก (อ.แม่สอด/อ.พบพระ/อ.แม่ระมาด) เขต 5 กาญจนบุรี (อ.เมือง) เขต 6 สระแก้ว (อ.อรัญประเทศ/อ.วัฒนานคร) ตราด(อ.คลองใหญ่) เขต 8 *หนองคาย (อ.เมือง/อ.สระใคร) *นครพนม (อ.เมือง/อ.ท่าอุเทน) เขต 10 มุกดาหาร อ.เมือง/อ.หว้านใหญ่/อ.ดอนตาล) เขต 12 สงขลา (อ.สะเดา) *นราธิวาส (อ.สุไหงโก-ลก/อ.ตากใบ/อ.แว้ง/อ.ยี่งอ/อ.เมือง) 3.2. พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม เขต 4 พระนครศรีอยุธยา เขต 5 สมุทรสาคร เขต 6 ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ระยอง สมุทรปราการ เขต 13 *ปทุมธานี 3.3 พื้นที่โรงไฟฟ้าถ่านหิน เขต 1 ลำปาง เขต 11 กระบี่ เขต 12 สงขลา หมายเหตุ : * คือ จังหวัดที่เพิ่มจากเป้าหมายปี 2559

11 แบบ พส. 2 แบบรายงานผลการดำเนินการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคฯ

12 การวัดและการติดตามผล ปีงบประมาณ 2560
รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน - สคร. ส่งแบบฟอร์มให้แก่ สสจ. - สสจ. ทำการสำรวจข้อมูลตามแบบ “พส.1” - สคร. รวบรวมข้อมูลตามแบบ “พส.1” จาก สสจ. - สสจ. ดำเนินการดูแลและเฝ้าระวังสุขภาพประชาชน ผ่านกิจกรรม ต่างๆ - รายงานผลการดำเนินงานดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงตามแบบ“พส.2”ครั้งที่ 1 - สคร. รวบรวมข้อมูลตามแบบ “พส.2”ครั้งที่ 1 - รายงานผลการดำเนินงานดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงตามแบบ “พส.2” ครั้งที่ 2 - สคร. รวบรวมข้อมูลตามแบบ “พส.2” ครั้งที่ 2 - รายงานผลการดำเนินงานดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงตามแบบ“พส.2”ครั้งที่ 3 - สคร. รวบรวมข้อมูลตาม “พส.2” ครั้งที่ 3

13 การคำนวณและการวัดผล B A
ร้อยละประชาชนที่ได้รับการดูแล = A = จำนวนประชาชน (ราย) ที่ได้จากการสำรวจตามแบบ “พส.1แบบฟอร์มสำรวจข้อมูลแหล่งกำเนิดสิ่งคุกคามและประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม” โดยรวมจำนวนผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากทุกปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม B = จำนวนประชาชน (ราย) ที่ได้รับการดูแลสุขภาพผ่านกิจกรรม เช่น การคัดกรองสุขภาพ การตรวจวินิจฉัยรักษา การสื่อสารความเสี่ยง และการจัดกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมกับหน่วยงานต่างๆ และประชาชนเพื่อแก้ไขปัญหา รวมจำนวนที่ดำเนินการได้ โดยไม่คำนึงถึงบุคคลซ้ำ รวมกัน จากแบบ “พส.2 : แบบรายงานผลการดำเนินงานดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม” B X 100 A คะแนน 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 ร้อยละ 28 29 30 31 32

14 Thank you. ถาม-ตอบ


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google