VDO Conference 14 มี.ค.60 ประเด็น ติดตามผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) เขตสุขภาพที่ 8
ประเด็นที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) P&P Excellence 1. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (เป้าหมายทั้งปีร้อยละ 80) จังหวัด รวมปีงบประมาณ 2560 (12 มีนาคม 2560) เป้า สมวัย ร้อยละ ยังไม่คัดกรอง/ไม่ผ่าน ครั้งแรก หลังการติดตาม รวม หนองบัวลำภู 6,436 4,603 787 5,390 83.75 1,046 หนองคาย 5,335 4,155 509 4,664 87.42 671 อุดรธานี 7,491 6,346 280 6,626 88.45 865 สกลนคร 12,346 11,488 169 11,657 94.42 689 เลย 4,313 4,077 31 4,108 95.25 205 บึงกาฬ 3,554 3,402 24 3,426 96.4 128 นครพนม 8,809 8,379 160 8,539 96.93 270 ผลงาน ทุกจังหวัดผ่านเกณฑ์ค่าเป้าหมาย พบว่ายังไม่ได้คัดกรองและ/หรือคัดกรองไม่ผ่านอีกรวม 3,874 คน ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข 12/3/60
ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข 12/3/60 2. อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (เป้าหมายทั้งปี ไม่เกิน 42 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน) P&P Excellence บึงกาฬ หนองบัวลำภู อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม จำนวน (คน) คลอดมีชีพหญิง 15-19 ปี 183 221 593 332 186 477 325 ผลงานเขตสุขภาพที่ 8 = 13.14 ต่อประชากรหญิง 5-19 ปีพันคน, ผ่านเกณฑ์ แต่ยังมีอัตราการคลอดสูงเป็นอันดับ 5 ของประเทศ (2,317 ราย) ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข 12/3/60
ที่มา : รายงานจากจังหวัด 12/3/60 3. ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส และการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ (เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 50) P&P Excellence จังหวัด ข้อ 1 (มี/ไม่มี) ข้อ 2 CM (คน) ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 CG (คน) ข้อ 6 CP (%) ตำบลทั้งหมด สะสม ปี 2559 เป้าประเมิน ปี2560 ปี 2560 ผ่าน LTC ร้อยละ บึงกาฬ มี 53 8 11 หนองบัวลำภู 59 6 39 อุดรธานี 156 20 105 เลย 90 21 35 หนองคาย 62 9 สกลนคร 125 18 87 นครพนม 99 38 เขตสุขภาพที่ 8 644 102 336 Small Success 6 เดือน มีการสนับสนุนการดำเนินงาน มี CM ………….. คน มีการจัดสรรงบประมาณแก่พื้นที่ มีการขับเคลื่อนงานโดยใช้เทคนิคค่ากลาง (ฉบับ อ.นพ.อมร นนทสุต) มี CG ………….. คน สนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุตาม Care plan ร้อยละ 30-59 ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 35 ที่มา : รายงานจากจังหวัด 12/3/60
ประเด็นที่ 2 การป้องกันและควบคุมโรค P&P Excellence 4. ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 80) Small Success 6 เดือน 1. มีการดำเนินงานตามขั้น 2 และ 3 -ขั้น 2 จัดเตรียมสถานที่ และอุปกรณ์ตามความเหมาะสมเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) กรณี เกิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขใน พื้นที่จังหวัด -ขั้น 3 สมาชิกทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัดได้รับการชี้แจงแนว ทางการปฏิบัติงานและอบรมขั้นพื้นฐาน จังหวัด ดำเนินงานตามขั้น 2 (มี/ไม่มี) ดำเนินงานตามขั้น 3 ร้อยละ บึงกาฬ มี 100 หนองบัวลำภู อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม เขตสุขภาพที่ 8 ร้อยละ 100 ที่มา : รายงานจากจังหวัด 12/3/60
(เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 80) 5. ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ในตับและมะเร็งท่อน้ำดี (เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 80) P&P Excellence จังหวัด เป้าหมาย ตำบลต้นแบบ ม.1 สร้างเสริมสุขภาพ ม.2 การควบคุมป้องกัน (OV) ม.3 การรักษาพยาบาล (U/S) ม.4 การดูแลรักษา (ผ่าตัด) ม.5 การสื่อสารสาธารณะ ครบ 5 มาตรการ ร้อยละ บึงกาฬ 10 0 ราย 1,575 ราย หนองบัวลำภู 13 ราย 1,092 ราย อุดรธานี 8 1 ราย 1,419 ราย เลย 6 7 ราย 664 ราย หนองคาย 9 20 ราย 1,467 ราย สกลนคร 27 238 ราย 2,621 ราย นครพนม 19 677 ราย เขตสุขภาพที่ 8 89 280 ราย 9,515 ราย Small Success 6 เดือน 1. มีการดำเนินงานตามมาตรการที่ 1 – 5 2. มีตำบลจัดการสุขภาพฯ ร้อยละ 30 -เกือบทุกตำบลยังไม่มีการบันทึกผลการคัดกรอง OV ตามมาตรการที่ 2 -บันทึกการคัดกรอง U/S ค่อนข้างน้อยในมาตรการที่ 3 -ยังไม่มีผลการผ่าตัดและรักษาแบบประคับประครอง ที่มา : Isan Cohort (cloud.cascap.in.th 5/2/60)
6. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับมาเป็นซ้ำ (เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 85) P&P Excellence จังหวัด 1.จำนวนอำเภอที่คัดกรองเชิงรุก 2. รพศ/รพท/รพช. ใช้โปรแกรม TBCM 3. อัตราการเปลี่ยนของเสมหะ + เป็น - 4. รพศ/รพท/รพช. เป้าหมายผ่าน QTB 5. เรือนจำผ่านมาตรฐาน QTBP บึงกาฬ 3 / 1 / หนองบัวลำภู อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม เขตสุขภาพที่ 8 21 / 7 / Small Success 6 เดือน 1. ร้อยละ 50 ของอำเภอเป้าหมายได้รับการคัดกรองเชิงรุกในประชากรกลุ่มเสี่ยง 2. ร้อยละ 60 ของโรงพยาบาล (ศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน) มีการบันทึกและรายงานข้อมูลผู้ป่วยวัณโรคผ่านโปรแกรม TBCM 2010 หรือ TBCM Online 3. อัตราการเปลี่ยนของเสมหะจากบวกเป็นลบในผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ที่มีผลตรวจยืนยันพบเชื้อ B+ ของผู้ป่วยวัณโรคทุกกลุ่มที่ขึ้นทะเบียนรักาใน cohort ที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 > 85 4. ร้อยละ 50 ของโรงพยาบาล (ศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน) เป้าหมายได้รับการประเมินมาตรฐาน QTB ในปี 2560 5. ร้อยละ 40 ของเรือนจำเป้าหมายได้รับการประเมินมาตรฐาน QTBP ในปี 2560 จังหวัด เป้าหมาย Success ร้อยละ บึงกาฬ 87 หนองบัวลำภู 86 อุดรธานี 212 เลย 114 หนองคาย สกลนคร 192 นครพนม 161 เขตสุขภาพที่ 8 938 ที่มา : TBCM2010 สสจ.รายงานในระบบ Cockpit60 R8WAY 12/3/60
7. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี (เป้าหมาย < 5 ต่อประชากรแสนคน) P&P Excellence จังหวัด เป้าหมาย เสียชีวิตจากการจมน้ำ อัตราการเสียชีวิต (ต่อแสนประชากร) บึงกาฬ 72,809 1 1.37 หนองบัวลำภู 82,577 อุดรธานี 250,276 4 1.6 เลย 101,078 หนองคาย 78,890 สกลนคร 192,392 นครพนม 116,223 เขตสุขภาพที่ 8 894,245 5 0.56 จังหวัด เป้าหมาย เสียชีวิตจากการจมน้ำ อัตราการเสียชีวิต (ต่อแสนประชากร) บึงกาฬ 72,809 1 1.37 หนองบัวลำภู 82,577 2 2.42 อุดรธานี 250,276 6 2.40 เลย 101,078 0.99 หนองคาย 78,890 1.26 สกลนคร 192,392 4 2.08 นครพนม 116,223 1.72 เขตสุขภาพที่ 8 894,245 17 1.90 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข 12/3/60 ที่มา : รายงานจากจังหวัด 31/1/60 ขอ update ข้อมูลจากจังหวัดให้เป็นปัจจุบัน
8. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (เป้าหมายทั้งปี ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน) P&P Excellence จังหวัด5.74 จำนวนเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน อัตราการเสียชีวิต (ต่อประชากรแสนคน) บึงกาฬ หนองบัวลำภู อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม เขตสุขภาพที่ 8 จังหวัด จำนวนเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน อัตราการเสียชีวิต (ต่อประชากรแสนคน) บึงกาฬ 16 หนองบัวลำภู 29 5.74 อุดรธานี 242 11.05 เลย 62 9.86 หนองคาย 51 สกลนคร 120 นครพนม 55 7.76 เขตสุขภาพที่ 8 ที่มา : ทะเบียนราษฎร์จาก สนย. ที่มา : สธฉ. 31/1/60 และรายงานจากจังหวัด ขอ update ข้อมูลจากจังหวัดให้เป็นปัจจุบัน
9. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ (เป้าหมาย HT ลดลงร้อยละ 2.5 =ไม่เกิน 22,605 คน, DM ลดลงลง ร้อยละ 5 =ไม่เกิน 14,690 คน) P&P Excellence Small Success 6 เดือน - การคัดกรอง HT, DM อายุ 35 ปีขึ้นไปพร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง > ร้อยละ 80 จังหวัด จำนวนผู้ป่วย HTรายใหม่ ปี 2559 เป้าหมายปี 60 ลดลง ร้อยละ 2.5 HT รายใหม่ HT รายใหม่ (12 มี.ค.60) บึงกาฬ 1,306 1,273 2,629 หนองบัวลำภู 1,958 1,909 2,577 อุดรธานี 5,308 5,175 7,591 เลย 3,937 3,838 5,358 หนองคาย 2,500 2,438 3,091 สกลนคร 4,204 4,099 7,211 นครพนม 3,973 3,873 3,198 เขตสุขภาพที่ 8 23,185 22,605 31,655 จังหวัด จำนวนผู้ป่วย DM รายใหม่ ปี 2559 เป้าหมาย ปี 60 ลดลง ร้อยละ 5 DM รายใหม่ DM รายใหม่ (12 มี.ค.60) บึงกาฬ 980 931 1,063 หนองบัวลำภู 1,392 1,322 อุดรธานี 3,912 3,716 4,780 เลย 2,229 2,117 2,011 หนองคาย 1,494 1,419 1,471 สกลนคร 2,947 2,800 3,157 นครพนม 2,509 2,384 1,959 เขตสุขภาพที่ 8 15,463 14,690 15,421 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข 12/3/60
ประเด็นที่ 3 ควบคุมปัจจัยเสี่ยง คุ้มครองผู้บริโภค P&P Excellence 10. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังการจำหน่ายจากการบำบัดรักษา ตามเกณฑ์กำหนด (3 month remission rate) (เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 92) Small Success 6 เดือน 1. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังการจำหน่ายจากการบำบัดรักษา ตามเกณฑ์กำหนด (3 month remission rate) ร้อยละ 90 2. ร้อยละ 50 ของค่ายศูนย์ขวัญฯ โรงงเรียนวิวัฒน์ฯระบบต้องโทษ จัดบริการตามมาตรฐานขแองกระทรวงสาธารณสุข จังหวัด เป้าหมาย (คน) หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน (คน) ร้อยละ เป้าหมายค่ายศูนย์ขวัญฯ จัดบริการตามมาตรฐาน บึงกาฬ หนองบัวลำภู อุดรธานี 1,264 101 7.99 เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม เขตสุขภาพที่ 8 ขอ update ข้อมูลจากจังหวัดให้เป็นปัจจุบัน ที่มา : ระบบข้อมูลบำบัดยาเสพติด (บสต.) กระทรวงสาธารณสุข 31/1/60
ประเด็นที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม P&P Excellence 11. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ (GREEN & CLEAN Hospital) (เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 75 ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานขึ้นไป) จังหวัด เป้าหมาย (แห่ง) ระดับพื้นฐาน ระดับดี ระดับดีมาก รวม ร้อยละ บึงกาฬ 8 หนองบัวลำภู 6 100 อุดรธานี 24 13 5 เลย 15 หนองคาย 9 55.56 สกลนคร 18 นครพนม 4 30.77 เขตสุขภาพที่ 8 93 57 61.29 Small Success 6 เดือน ร้อยละ 30 ของโรงพยาบาลพัฒนาได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ระดับพื้นฐาน ขอ update ข้อมูลจากจังหวัดให้เป็นปัจจุบัน ที่มา รายงานจากจังหวัด 31/1/60
ประเด็นที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ Service Excellence 12. ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ (Primary Care Cluster) (เป้าหมายร้อยละ 90) จังหวัด เป้าหมาย (ทีม) จัดตั้ง PCC ที่ขึ้นทะเบียน (ทีม) ร้อยละ บึงกาฬ 2 100 หนองบัวลำภู 4 อุดรธานี 6 เลย 7 หนองคาย สกลนคร นครพนม เขตสุขภาพที่ 8 34 Small Success 6 เดือน จัดตั้ง PCC ขึ้นทะเบียนร้อยละ 50 ที่มา : เขตสุขภาพที่ 8 31/1/60
ประเด็นที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Excellence 13. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (เป้าหมายเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 จากปี 2559 หรือ DM >ร้อยละ 40, HT > ร้อยละ 50) ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข 12/3/60
14. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) (เป้าหมาย >ร้อยละ 80) Service Excellence ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข 12/3/60
15. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (เป้าหมาย น้อยกว่า ร้อยละ 7) Service Excellence ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข 12/3/60
16. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (RDU) Service Excellence จังหวัด เป้าหมาย (รพ.) มีกิจกรรมส่งเสริม RDU ผลงาน ผ่านขั้น 1 ร้อยละ บึงกาฬ 8 มี 4 50 หนองบัวลำภู 6 2 33.33 อุดรธานี 21 เลย 14 หนองคาย 9 สกลนคร 18 นครพนม 12 เขตสุขภาพที่ 8 88 ร้อยละ 100 6.82 จังหวัด เป้าหมาย (รพ.สต.) ผลงาน RI >20% (แห่ง) ผลงาน AD >20% (แห่ง) บึงกาฬ 1 หนองบัวลำภู อุดรธานี 4 เลย 6 หนองคาย 3 สกลนคร 11 นครพนม เขตสุขภาพที่ 8 874 32 (3.66%) 1 (0.11%) ที่มา : โปรแกรม RDU2016 รพ.บ้านม่วง สกลนคร 31/1/60 ที่มา : ข้อมูล 43 แฟ้ม ประมวลในระบบ Cockpit60 R8WAY 31/1/60
17. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (เป้าหมายทั้งปี ไม่เกิน 6 17. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (เป้าหมายทั้งปี ไม่เกิน 6.3 ต่อประชากรแสนคน) Service Excellence จังหวัด ฆ่าตัวตาย อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (ต่อแสนประชากร) บึงกาฬ 7 หนองบัวลำภู 4 อุดรธานี 34 เลย 15 หนองคาย 6 สกลนคร 18 1.51 นครพนม 9 เขตสุขภาพที่ 8 89 ขอ update ข้อมูลจากจังหวัดให้เป็นปัจจุบัน ที่มา : ข้อมูล 43 แฟ้มประมวลในระบบ Cockpit60 R8WAY 12/3/60
18. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (เป้าหมายทั้งปี ไม่เกิน 28 ต่อประชากรแสนคน) Service Excellence ที่มา : cockpit 12/3/60
19. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ (เป้าหมายทั้งปี 23.5 ต่อประชากรแสนคน) Service Excellence จังหวัด ตาย อัตราตาย (ต่อแสนประชากร) บึงกาฬ 22 5.19 หนองบัวลำภู 142 28.11 อุดรธานี 274 18.74 เลย 87 13.83 หนองคาย 64 12.53 สกลนคร 291 25.60 นครพนม 169 23.83 เขตสุขภาพที่ 8 1,049 19.51 ที่มา : ข้อมูล 43 แฟ้มประมวลในระบบ Cockpit60 R8WAY 12/3/60
(เป้าหมาย > ร้อยละ 65 ขึ้นไป) ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข 12/3/60 20. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr (เป้าหมาย > ร้อยละ 65 ขึ้นไป) Service Excellence ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข 12/3/60
ประเด็นที่ 7 การพัฒนางานการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ Service Excellence 21. ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ECS คุณภาพ (เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 60) จังหวัด 1. บุคลากรได้รับการพัฒนา/อบรม 2. เครือข่ายทุกภาคส่วนมีการประเมินฯ (ทั้งหมด / ประเมิน) (แห่ง) เป้าหมาย/ผลงาน รพ. F2 ขึ้นไป (แห่ง) ร้อยละ มีระบบ ECS คุณภาพ บึงกาฬ มีการจัดอบรม แห่ง / แห่ง 7 / หนองบัวลำภู 6 / อุดรธานี 18 / เลย 12 / หนองคาย 5 / สกลนคร 17 / นครพนม 11 / เขตสุขภาพที่ 8 มีการจัดอบรม ร้อยละ 100 76 / Small Success 6 เดือน 1. บุคลากรทุกระดับ ทีมสนับสนุน ECS คุณภาพ ได้รับการอบรมตามหลักสูตร (ICS/HOPE/MERT/Mini MERT/CLS) 2. เครือข่าย ECS ทุกภาคส่วนมีการประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์และดำเนินการตามแนวทางพัฒนา ECS คุณภาพที่มุ่งเน้นปี 60 ขอ update ข้อมูลจากจังหวัดให้เป็นปัจจุบัน ที่มา : รายงานจากจังหวัด 12/3/60
ประเด็นที่ 8 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ Service Excellence 22. ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 เป้าหมาย 2) มากกว่า ร้อยละ 80 ใน รพช. เป้าหมาย 1) ร้อยละ 100 ของ รพศ., รพท., รพ.สังกัดกรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค และกรมสุขภาพจิต จังหวัด ยังไม่เข้ากระบวน การรับรอง (แห่ง) HA ขั้น 1 (แห่ง) HA ขั้น 2 (แห่ง) HA ขั้น 3 (แห่ง) รวม รพ.ในจังหวัด (แห่ง) ร้อยละที่ผ่าน HA ขั้น 3 บึงกาฬ 7 100.00 หนองบัวลำภู 5 อุดรธานี 2 1 16 19 84.21 เลย 6 13 46.15 หนองคาย 3 4 8 50.00 สกลนคร นครพนม 11 63.64 เขตสุขภาพที่ 8 10 61 79 77.22 จังหวัด เป้าหมาย (รพศ. รพท. รพ.ในสังกัดกรมฯ) ผลงาน ผ่าน HA ขั้น 3 ร้อยละ บึงกาฬ 1 100 หนองบัวลำภู อุดรธานี* 4 3 75 เลย* 2 หนองคาย สกลนคร นครพนม* เขตสุขภาพที่ 8 13 12 92.31 *สังกัดกรมการแพทย์ 2 แห่ง (รพ.ธัญญารักษ์, รพ.มะเร็งอุดรธานี) สังกัดกรมสุขภาพจิต 2 แห่ง (รพ.จิตเวชเลยราชนครินทร์, รพ.จิตเวชนครพนมราชนครินทร์ เขตสุขภาพที่ 8 ปัจจุบันมี รพช. ที่ผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 ขึ้นไป จำนวน 61 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 77.22 ยังไม่เข้าร่วมการประเมิน (F3) 7 แห่ง ที่มา : สพร. 12/3/60
23. ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ (เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 10) Service Excellence ผลการติดตามรอบ 6 เดือน เขตสุขภาพที่ 8 เป็นพื้นที่ต้นแบบในการจัดประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน รพ.สต.ติดดาว ระดับประเทศ (Kick Off) ในวันที่ 23 – 25 มกราคม 2560 และได้มีการประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน รพ.สต.ติดดาว (Kick Off) ระดับเขตสุขภาพในวันที่ 19 - 20 กุมภาพันธ์ 2560 และพัฒนาทีมประเมินระดับจังหวัด ครอบคลุม ร้อยละ 100 Small Success 6 เดือน 1. ทีมประเมินระดับเขตสุขภาพชี้แจงการดำเนินงานและพัฒนาทีมประเมินระดับจังหวัด/อำเภอ ที่มา : รายงานจากจังหวัด 12/3/60
ประเด็นที่ 9 การผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ People Excellence 24. ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคน ได้ตามเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด (เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 60) 1. มีการวางแผนกำลังคน 2. มีการสร้างความร่วมมือด้านการผลิตกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุดรธานี ร้อยละ 100 3. การจัดสรรงบประมาณกำลังคน (รอการสรุปจากตรวจราชการ) 4. มีการบริหารจัดการด้านการผลิตและพัฒนากำลังคนตาม FTE และค่านิยม MOPH 5. มีการประเมินผลกระทบจากปัญหากำลังคนและแก้ปัญหา เขตสุขภาพมีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตามเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด ร้อยละ 100 ที่มา : CHRO สำนักงานเขตสุขภาพที่ 8 31/1/60 25. ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happy Work Life Index) และ Core Value "MOPH" ไปใช้ (เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 50) Small Success 6 เดือน -มีการชี้แจงทำความเข้าใจแนวทางการวัดดัชนีความสุขของคนทำงานและการนำดัชนีความสุขของคนทำงานไปใช้ จังหวัด บก. นภ. อด. ลย. นค. สน. นพ. เขตสุขภาพที่ 8 มีการชี้แจงทำความเข้าใจแนวทางการวัดดัชนีความสุขของคนทำงานและการนำดัชนีความสุขของคนทำงานไปใช้ มี ร้อยละ 100
ประเด็นที่ 11 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ Governance Excellence 26. ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และวัสดุทันตกรรม (เป้าหมายทั้งปี ร้อยละ 20) ที่มา : สำนักบริหารการสาธารณสุข 12/3/60
ประเด็นที่ 12 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ Governance Excellence 27. ร้อยละของจังหวัดและหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล (จังหวัดร้อยละ 25, หน่วยบริการร้อยละ 80) จังหวัด 1. ร้อยละจังหวัดมีการจัดอบรมฯ 2. มี VDO Conference 3. ร้อยละหน่วยบริการส่งครบถ้วนฯ 4. ร้อยละหน่วยบริการที่ผ่านคุณภาพข้อมูลฯ บึงกาฬ 100 มี หนองบัวลำภู อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม เขตสุขภาพที่ 8 Small Success 6 เดือน 1. ร้อยละของจังหวัดที่มีการจัดอบรมและฟื้นฟูคุณภาพข้อมูลสาเหตุการตายไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 2. VDO Conference เพื่อ M&E และ KM 3. ร้อยละของหน่วยบริการส่งครบถ้วน-ทันเวลาของข้อมูลบริการสุขภาพตามโครงสร้าง 43 แฟ้ม มา HDC จังหวัด/กระทรวง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 4. ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูลบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ขอ update ข้อมูลจากจังหวัดให้เป็นปัจจุบัน ที่มา : สำนักนโยบายและแผน (สนย.) 12/3/60
ประเด็นที่ 13 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ Governance Excellence 28. ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน (เป้าหมายทั้งปี ไม่เกินร้อยละ 8) จังหวัด รพ.ทั้งหมด (แห่ง) รพ. risk score ระดับ 7 (แห่ง) ร้อยละ หมายเหตุ บึงกาฬ 8 0.00 ผ่าน หนองบัวลำภู 6 อุดรธานี 21 เลย 14 หนองคาย 9 สกลนคร 18 นครพนม 12 รวม 88 ที่มา : กลุ่มประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 31/1/60