งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Performance Agreement

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Performance Agreement"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Performance Agreement
กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โดย นายแพทย์เจษฎา โชคดำรงสุข อธิบดีกรมควบคุมโรค  28 ต.ค. 2559

2 Performance Agreement : PA กรมควบคุมโรค ไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร
6 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) ร้อยละ 80 4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 5. อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน *Proxy Kpi : จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินงานผ่าน DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี ลดลงอย่างน้อย 5% * ไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร 6. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25

3 Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560
ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายปี 2560 : ร้อยละ 80 ของจังหวัดทั้งหมด 77 จังหวัด มาตรการ : 1. ประเมินความพร้อมและจัดเตรียมทรัพยากร ของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด พัฒนาทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด ซ้อมแผนตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับจังหวัด พัฒนาแนวทางดำเนินการและแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ ให้หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ร้อยละ 80 ของจังหวัด จัดทำโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข และจัดทีมตระหนักรู้สถานการณ์ ร้อยละ 80 ของจังหวัด จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์รองรับการเปิดศูนย์ EOC และทีม SAT ได้รับการอบรมขั้นพื้นฐาน ร้อยละ 80 ของจังหวัด มีการซ้อมแผนปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน และทีม SAT เริ่มประเมินสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพพื้นที่จังหวัด ร้อยละ 80 ของจังหวัด มี Incident Action Plan ของเหตุการณ์สำคัญโดยกำหนดวิธีปฏิบัติการพร้อมข้อสั่งการไปยังหน่วยงาน ตัวชี้วัดที่ 1: ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 1: ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริงเป้าหมายร้อยละ 80 ตัวชี้วัดนี้เป็นการขับเคลื่อนให้เกิดระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน โดยมีศูนย์ EOC และทีม SAT ที่ดำเนินงานได้จริง โดยประเมินตามมาตรการ และเก็บข้อมูลรายไตรมาส ประกอบด้วย 4 มาตรการ คือ 1. ประเมินความพร้อมและจัดเตรียมทรัพยากร เพื่อพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด 2. พัฒนาบุคลากรรองรับการปฏิบัติงานทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด 3. ซ้อมแผนตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินฯระดับจังหวัด 4. พัฒนาแนวทางและแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ให้หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค ระดับอำเภอ ( SRRT ปัจจุบันมีทุกอำเภอมากกว่า1,030 ทีม) ทุกจังหวัด(เป็นมาตรการที่ดำเนินการตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ อยู่แล้ว แต่เพิ่มเติมเป็นมาตรการในตัวชี้วัดนี้ตามข้อเสนอแนะของท่านปลัดกระทรวงฯ) โดยมีเป้าหมาย ดังนี้ เป้าหมาย 3 เดือน ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีโครงสร้างรองรับ คือ มีศูนย์ EOC และทีม SAT เป้าหมาย 6 เดือน ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีสถานที่ อุปกรณ์ และบุคลากรได้รับการอบรมขั้นพื้นฐาน เป้าหมาย 9 เดือน ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีการซ้อมแผนและเริ่มประเมินสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ เป้าหมาย 12 เดือน ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีการจัดทำ Incident Action Plan (IAP) ของเหตุการณ์สำคัญ ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ตัวชี้วัดใหม่ ปี 2560 1 2 3 4 5 70 75 80 85 90 การประเมินผล : จากการประเมินการดำเนินงานตามมาตรการ ความถี่การจัดเก็บข้อมูล : รายไตรมาส

4 Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560
ตัวชี้วัดที่ 2 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายปี 2560 : ร้อยละ 85 กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ทั้งผู้ป่วยไทย ผู้ป่วยไม่ใช่ไทย และผู้ป่วยในเรือนจำ ที่รักษาในโรงพยาบาลรัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสธ. มาตรการ : 1. เร่งรัดการค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เขตกำหนดอำเภอที่มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคสูงสุดจำนวน 3 อำเภอ/จังหวัด เพื่อคัดกรองเชิงรุก (231 อำเภอ/ 77 จังหวัด) ร้อยละ 50 ของประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่อำเภอเป้าหมายได้รับการคัดกรองเชิงรุก (116 อำเภอ) ร้อยละ 80ของประชากรกลุ่ม เสี่ยงในพื้นที่อำเภอเป้าหมายได้รับการคัดกรองเชิงรุก (185 อำเภอ) ร้อยละ 100 ของประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่อำเภอเป้าหมายได้รับการคัดกรองเชิงรุก (231 อำเภอ) 2. ค้นพบผู้ป่วยร้อยละ 80 ของ ผู้ป่วยวัณโรคที่คาดประมาณ ตามองค์การอนามัยโลก (89,917 คน) ตัวชี้วัดที่ 2 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 กลุ่มเป้าหมาย: ผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ทั้งผู้ป่วยไทย ผู้ป่วยไม่ใช่ไทย และผู้ป่วยในเรือนจำ ที่รักษาในโรงพยาบาลรัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข - ความสำเร็จการรักษาวัดจากผู้ป่วยวัณโรคมีผลการรักษาหายจากโรค โดยมีการยืนยันจาก Lab ในเดือนสุดท้ายของการรักษาและรักษาครบตามกำหนด - ประเมินจากโปรแกรม TBCM 2010 โดยวัดอัตราความสำเร็จครบรอบรายงาน เมื่อสิ้นสุดเดือนมิถุนายน 2560 โดยมี 2 มาตรการ คือ มาตรการที่ 1 เร่งรัดการค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย วัดความสำเร็จจาก ร้อยละผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมาก่อนมีผลตรวจทดสอบความไวต่อยา - เป้าหมาย 3 เดือน ร้อยละ 45 - เป้าหมาย 6 เดือน ร้อยละ 55 - เป้าหมาย 9 เดือน ร้อยละ 65 - เป้าหมาย 12 เดือน ร้อยละ 75 มาตรการที่ 2 การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยตามมาตรฐานให้หายและกินยาครบ วัดความสำเร็จจากร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคมีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 3 เดือน - วิเคราะห์สถานการณ์การขาดยาและจัดทำแผนงานรองรับการแก้ปัญหาในระดับพื้นที่ ร้อยละ 2 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 6 เดือน - ความครอบคลุมของการใช้มาตรการลดอัตราการขาดยา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 - ร้อยละ 2 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 9 เดือน - การใช้มาตรการลดอัตราการขาดยาครอบคลุมผู้ป่วยทุกราย - ร้อยละ 3 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 12 เดือน - วิเคราะห์และประเมินผลสำเร็จของมาตรการและถ่ายทอด Best practice

5 Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560
ตัวชี้วัดที่ 2 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ มาตรการ : 2. การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยตามมาตรฐานให้หายและกินยาครบ Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เดือน 1.โรงพยาบาล (ศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน) บันทึกและรายงานข้อมูลผู้ป่วยวัณโรค ร้อยละ 40 ร้อยละ 60 ร้อยละ 80 ร้อยละ 100 2. โรงพยาบาล (ศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน) ได้รับการประเมินมาตรฐาน QTB ในปี 2560 กำหนดโรงพยาบาล (ศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน) เพื่อประเมินมาตรฐาน QTB ในปี 2560 จำนวน 3 โรงพยาบาล/จังหวัด (231 โรงพยาบาล) ร้อยละ 50 ของ รพ. (116 โรงพยาบาล) ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาล (185 โรงพยาบาล) (231 โรงพยาบาล) และผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 3. เรือนจำเป้าหมายได้รับการประเมินมาตรฐาน QTBP ในปี 2560 กำหนดเรือนจำเป้าหมายที่การประเมินมาตรฐาน QTBP ในปี จำนวน 1 เรือนจำ/จังหวัด (77 เรือนจำ) ร้อยละ 40 ของเรือนจำ ( 31 เรือนจำ) ร้อยละ 80 ของเรือนจำ (62 เรือนจำ) (77 เรือนจำ) และผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 กลุ่มเป้าหมาย: ผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ทั้งผู้ป่วยไทย ผู้ป่วยไม่ใช่ไทย และผู้ป่วยในเรือนจำ ที่รักษาในโรงพยาบาลรัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข - ความสำเร็จการรักษาวัดจากผู้ป่วยวัณโรคมีผลการรักษาหายจากโรค โดยมีการยืนยันจาก Lab ในเดือนสุดท้ายของการรักษาและรักษาครบตามกำหนด - ประเมินจากโปรแกรม TBCM 2010 โดยวัดอัตราความสำเร็จครบรอบรายงาน เมื่อสิ้นสุดเดือนมิถุนายน 2560 โดยมี 2 มาตรการ คือ มาตรการที่ 1 เร่งรัดการค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย วัดความสำเร็จจาก ร้อยละผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมาก่อนมีผลตรวจทดสอบความไวต่อยา - เป้าหมาย 3 เดือน ร้อยละ 45 - เป้าหมาย 6 เดือน ร้อยละ 55 - เป้าหมาย 9 เดือน ร้อยละ 65 - เป้าหมาย 12 เดือน ร้อยละ 75 มาตรการที่ 2 การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผู้ป่วยตามมาตรฐานให้หายและกินยาครบ วัดความสำเร็จจากร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคมีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 3 เดือน - วิเคราะห์สถานการณ์การขาดยาและจัดทำแผนงานรองรับการแก้ปัญหาในระดับพื้นที่ ร้อยละ 2 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 6 เดือน - ความครอบคลุมของการใช้มาตรการลดอัตราการขาดยา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 - ร้อยละ 2 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 9 เดือน - การใช้มาตรการลดอัตราการขาดยาครอบคลุมผู้ป่วยทุกราย - ร้อยละ 3 ของผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษามีอัตราการขาดยาลดลง เป้าหมาย 12 เดือน - วิเคราะห์และประเมินผลสำเร็จของมาตรการและถ่ายทอด Best practice ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 81.4 80.4 รอผล 1 2 3 4 5 81 82 83 84 85 การประเมินผล : โปรแกรม TBCM2010หรือโปรแกรม TBCM Online ความถี่การจัดเก็บข้อมูล : 1 ครั้ง ในรอบ 12 เดือน หมายเหตุ : โรงพยาบาล : โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน QTB : การประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค QTBP : การประเมินมาตรฐานการป้องกันดูแลรักษาวัณโรคในเรือนจำ หมายเหตุ : โรงพยาบาล : โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน QTB : การประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค QTBP : การประเมินมาตรฐานการป้องกันดูแลรักษาวัณโรคในเรือนจำ

6 PA กระทรวง:ร้อยละของตำบลในการเฝ้าระวัง คัดกรอง ป้องกัน เพื่อแก้ปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) พื้นที่เป้าหมาย : เป้าหมายคือ ประชาชน 100,000 ราย ในพื้นที่ 27 จังหวัด ที่อยู่ในเขตสุขภาพที่ 1, 6, 7, 8, 9, 10 เป้าหมายปี 2560 : ร้อยละ 80 พื้นที่เป้าหมาย 27 จังหวัดเสี่ยงสูง 138 อำเภอ 209 ตำบล ภาคอีสาน 20 จ.ภาคเหนือ 6 จ. ภาคตะวันออก 1 จ. (เขตบริการสุขภาพ 1, 6, 7, 8, 9, 10) คัดกรอง OV ด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไปและรักษาทุกคนที่ติดเชื้อ (เป้าหมาย 80,000 ราย ในพื้นที่ 209 ตำบล) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน จัดการเรียนการสอน OV และ CCA ในพื้นที่ดำเนินการ จัดการสิ่งแวดล้อมสิ่งปฏิกูล เพื่อให้คนปลอดพยาธิ ปลอดภัย อบต./เทศบาลออกข้อกำหนดและมีการบังคับใช้ คัดกรอง CCAในประชาชน 40 ปีขึ้นไปด้วยอัลตร้าซาวด์ (เป้าหมาย 128,000 ราย) การรักษาโดยการผ่าตัด (เป้าหมาย 640 ราย) มีการดูแลแบบประคับประครองทุกราย ตัวชี้วัดที่ 3: ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) เป็นตัวชี้วัดจากมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 7 (26 ธันวาคม พ.ศ.2557) โครงการกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีถวายเป็นพระราชกุศลฯ (2559 – 2560) โดยกรมควบคุมโรคดำเนินการ 2 มาตรการ คือ 1. คัดกรองพยาธิใบไม้ตับด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป ในตำบลพื้นที่เสี่ยง 2. ประชาชนที่ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับได้รับการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของตำบล ที่ดำเนินการในพื้นที่ 27 จังหวัด 138 อำเภอ 209 ตำบล ซึ่งอยู่ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1, 6 – 10 ประเมินผลจากฐานข้อมูล Isan-cohort เก็บข้อมูลรายไตรมาส

7 Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560
ตัวชี้วัดที่ 3: ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) พื้นที่เป้าหมาย : เป้าหมายคือ ประชาชน 100,000 ราย ในพื้นที่ 27 จังหวัด ที่อยู่ในเขตสุขภาพที่ 1, 6, 7, 8, 9, 10 เป้าหมายปี 2560 : ร้อยละ 80 มาตรการ : คัดกรองพยาธิใบไม้ตับด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป ในตำบลพื้นที่เสี่ยง ประชาชนที่ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับได้รับการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ร้อยละ 5 (ของ 209 ตำบล = 11 ตำบล) ร้อยละ 30 (ของ 209 ตำบล = 63 ตำบล) ร้อยละ 55 (ของ 209 ตำบล = 115 ตำบล) ร้อยละ 80 (ของ 209 ตำบล = 168 ตำบล) ข้อมูลพื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ 3: ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) เป็นตัวชี้วัดจากมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 7 (26 ธันวาคม พ.ศ.2557) โครงการกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีถวายเป็นพระราชกุศลฯ (2559 – 2560) โดยกรมควบคุมโรคดำเนินการ 2 มาตรการ คือ 1. คัดกรองพยาธิใบไม้ตับด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป ในตำบลพื้นที่เสี่ยง 2. ประชาชนที่ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับได้รับการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของตำบล ที่ดำเนินการในพื้นที่ 27 จังหวัด 138 อำเภอ 209 ตำบล ซึ่งอยู่ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1, 6 – 10 ประเมินผลจากฐานข้อมูล Isan-cohort เก็บข้อมูลรายไตรมาส เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 - 84 ตำบล (77,510 ราย) 1 2 3 4 5 ≥70 75 80 85 ≤90 การประเมินผล : จากฐานข้อมูล Isan – cohort ความถี่การจัดเก็บข้อมูล : รายไตรมาส

8 Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายปี 2560 :  ร้อยละ 80 มาตรการ :1. การค้นหากลุ่มเสี่ยง/การประเมิน ผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนในสถานบริการ ได้รับการประเมิน CVD Risk 2. การจัดการหลังการประเมิน กลุ่มผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) ที่มีระดับความเสี่ยงสูง≥30% ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น เร่งด่วน Small Success 3 เดือน 6เดือน 9เดือน 12 เดือน ผู้ป่วย DM , HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 20% ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 40% ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 60% เร่งรัด พัฒนา เขตบริการที่ยังไม่บรรลุผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 80% ผู้ป่วย DM ,HT ที่มีระดับ CVD Risk≥30% เข้าถึงบริการ และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น เร่งด่วน 60% ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงซ้ำ และมีความเสี่ยงลดลง ≥10% ตัวชี้วัดที่ 4: ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 ประเมินผลจากการดำเนินการค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยที่ประเมิน CVD Risk และกลุ่มดังกล่าวสามารถเข้าถึงบริการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 1 2 3 4 5 70 75 80 85 90 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 - 77.89% การประเมินผล : ข้อมูลจากการรายงานผลการคัดกรองโดย สคร. ประเมินผลลัพธ์ 1 ครั้ง ในรอบ 12 เดือน

9 การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ปี 2560 (กระทรวง)
เป้าหมาย : ลดอัตราตายจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน มาตรการบริหารจัดการ SAT/EOC-RTI คุณภาพ TEA Unit คุณภาพ (รพ. A S M1) สสอ./รพช. เป็นเลขา ร่วมใน ศปถ. อำเภอ เขตสุขภาพมีแผนและสนับสนุนงบประมาณ RTI (สธฉ.) มาตรการข้อมูล 4I Integration of Data 3ฐาน IS online รพ. A S M1 Investigation Information นำเสนอ ข้อมูลจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. อย่างน้อย 5 จุด/จังหวัด/ ไตรมาส (กรม คร.+สธฉ.+สนย.) มาตรการป้องกัน ACDR Ambulance Safety Community Checkpoint(ด่าน) DHS-RTI RTI Officer เจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยทางถนน (จปถ.) ใน หน่วยงาน (กรม คร.+กรม สบส.+สป.) มาตรการรักษา พัฒนาคุณภาพ 2 EIR EMS คุณภาพ ER คุณภาพ In-hos คุณภาพ Referral System (กรม พ. + สธฉ.) 1 1 1 2 2 2 3 1 3 3 4 4 2 4 3 4 Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เขตสุขภาพมีแผนและสนับสนุนงบประมาณ RTI ครบทุกเขต มีแผนปฏิบัติการ SAT/EOC-RTI ในจังหวัด ครบทุกจังหวัด 3. สสอ./รพช.เป็นเลขาร่วมใน ศปถ. อำเภอ โดยนำเสนอข้อมูลของ พื้นที่ อย่างน้อย 50% มีการดำเนินงานของ TEA Unit คุณภาพ ในรพ. A S M1 มากกว่า 30% มีการปรับข้อมูลการตายของประเทศ โดยใช้ข้อมูล 3 ฐาน มีอำเภอดำเนินงาน DHS-RTI มากกว่า 80% ของอำเภอในจังหวัด มีระบบรายงานข้อมูล IS Online มีระบบรายงานการสอบสวน Online และการสังเคราะห์ข้อมูล จำนวนผู้บาดเจ็บ(Admit)รวมกับผู้เสียชีวิตในอำเภอ DHS-RTI ที่ดำเนินการด่านชุมชน ลดลง 5% ในช่วงเทศกาล (ปีใหม่และสงกรานต์) มี one stop center นำเสนอข้อมูล RTI ผ่าน web & mobile มีอำเภอเป้าหมาย ผ่านเกณฑ์ DHS-RTI ระดับดี 50% มีการนำเสนอจุดเสี่ยงมากกว่า 1,520 จุด ไม่มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถพยาบาล ผู้บาดเจ็บที่มีค่า Ps>0.75 เสียชีวิต ไม่เกิน 1.5% เป้าหมายลดการตายจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางบก ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน (ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ อัตราตาย = 18.9 ต่อประชากรแสนคน มาตรการในการดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข แบ่งเป็น 4 มาตรการ ในแต่ละมาตรการมีกิจกรรมสำคัญ 4 กิจกรรม ชื่อเล่น มาตรการ 4X4 มีดังนี้ มาตรการบริหารจัดการ : รับผิดชอบโดย สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน มาตรการบริหารจัดการข้อมูล 4I มาตรการป้องกัน รับผิดชอบโดยกรมควบคุมโรค และกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มาตรการรักษา รับผิดชอบโดยกรมการแพทย์ และสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน

10 ตัวชี้วัดที่ 5 : จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI
มาตรการ ขับเคลื่อน DHS-RTI + ศปถ. อำเภอ จัดการข้อมูลในระดับอำเภอ การสอบสวน Case การมีส่วนร่วมของทีมสหสาขา + ศปถ.อำเภอ การชี้เป้าจุดเสี่ยง ผ่าน ศปถ.อำเภอ การขับเคลื่อนให้เกิด RTI Team มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน มาตรการองค์กร มีแผนงาน/โครงการ การสื่อสารความเสี่ยง การสรุปผลการดำเนินงาน Ambulance safety เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางถนน เป้าหมายการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค ร้อยละ 30 ของอำเภอในจังหวัด รวม 264 อำเภอ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี ร้อยละ 50 (132 อำเภอ) เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน >1 % ≥2% ≥3% ≥4% ≥5% การประเมินผล : ใช้ฐานข้อมูล e-claim ของบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด ความถี่การจัดเก็บข้อมูล: ปีละ 1 ครั้ง เมื่อสิ้นไตรมาสที่ 4 Small Success ตัวชี้วัดนี้เป็น Joint KPI ระดับกระทรวง ในส่วนของกรมควบคุมโรค จะมีการดำเนินการโดย ส่วนกลาง/เขต/ขับเคลื่อน DHS/DC + ศปถ.อำเภอ ดำเนินการมาตรการชุมชน/ด่านชุมชน RTI Team แก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วมของทีมสหสาขา ติดตามประเมินผล อำเภอ/จังหวัด - รพ.สธ. ใช้มาตรการ Ambulance safety โดยวัดความสำเร็จคือ 3 เดือน ร้อยละ 20 ของจังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐานและนำไปใช้ประโยชน์ รวมทั้งชี้เป้าจุดเสี่ยง 380 จุด 6 เดือน - จัดทำรายงานเสนอศูนย์อำนวยการเพื่อความปลอดภัยทางถนนเพื่อขอมติให้ข้อมูลตาย 3 ฐานเป็นข้อมูลอ้างอิง - จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ไม่น้อยกว่า 30% ของอำเภอในจังหวัด 9 เดือน - มีระบบรายงานการสอบสวนใน Web Based - อุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง 50% 12 เดือน - ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน, จังหวัดชี้เป้าจุดเสี่ยง 1,520 จุด, DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี 50%, 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. หน่วยงานระดับเขต (สคร.) มีแผนงาน DHS-RTI และ มีกิจกรรมขับเคลื่อนในพื้นที่ ครบทุกเขต 100% 1. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มากกว่า 30% ของอำเภอในจังหวัด หรือมากกว่า 264 อำเภอ 2. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มีการขับเคลื่อนด่านชุมชน ไม่น้อยกว่า 5 ด่าน/อำเภอ ในช่วงเทศกาลปีใหม่ ได้มากกว่า 264 อำเภอ 1. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มีการขับเคลื่อน ด่านชุมชน ไม่น้อยกว่า 5ด่าน/อำเภอ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ได้มากกว่า 264 อำเภอ 1. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี (Good) มากกว่า 50% ของอำเภอที่ดำเนินการ หรือมากกว่า 132 อำเภอ 2. จำนวนผู้เสียชีวิตรวมผู้บาดเจ็บทางถนนใน อำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ ระดับดี ลดลงอย่างน้อย 5%

11 Performance Agreement กรมควบคุมโรค ปี 2560
ตัวชี้วัดที่ 6 : อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ มาตรการ : 1. คัดกรอง DM, HT ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 2. กำกับติดตามให้กลุ่มเสี่ยง DM/HT เข้าถึงบริการลดเสี่ยง Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 50 % สนับสนุนเครื่องมือ 1. ชุดมาตรฐานการบริการป้องกันควบคุมโรคDM,HT 2. คู่มือการประเมินคุณภาพ NCD Clinic Plus ปี 2560 - คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปีขึ้นไปพร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 80 % - สนับสนุนเครื่องมือสื่อความรู้ - คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 90 % อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 (536 ต่อแสนประชากร) อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ลดลง ร้อยละ 0.25 (258 ต่อแสนประชากร) เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 ข้อมูลพื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ 6: อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และ/หรือ เบาหวานรายใหม่ ผู้ป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงคือ ผู้ป่วยที่มีรหัส ICD10 = I10 – I15 ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวาน หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคเบาหวาน ในทุกกลุ่มอายุ (รหัสโรค ICD10 = E10-E14) เป้าหมาย คือ อัตราเพิ่มของผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 จากปี 2559 โดยเก็บข้อมูลจาก HDC มาตรการที่สำคัญ 1. คัดกรองกลุ่มเสี่ยง DM, HT ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 2. กำกับติดตามให้กลุ่มเสี่ยง DM/HT เข้าถึงบริการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 2 3 4 5 หน่วยวัด 0.05 0.10 0.15 0.20 0.25 ร้อยละ HT (679) (643) (607) (572) (536) ต่อแสนปชก. DM (327) (310) (293) (276) (258) ปี 57 ปี 58 ปี 59 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ต่อแสนประชากร 795 714 อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ต่อแสนประชากร - 401 344 * หมายเหตุ : ปี 59 ข้อมูล ณ 26 ต.ค. 59 จาก HDC การประเมินผล : จากข้อมูล HDC ทุก 1 ปี (ปีงบประมาณ) โดยใช้ข้อมูลจาก HDC

12 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt Performance Agreement

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google